กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียเป็นปัญหาด้านสาธรณสุขที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน โดยจังหวัดยะลาเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียอย่างต่อเหนื่องทุกปีจึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรียเป็นนโยบายหลักของงานด้านสาธรณสุข อำเภอบันนังสตา เป็นอำเภอหนึ่งที่มีการระบาดของโรคมาลาเรียเป็นอับดับหนึ่งของจังหวัดยะลา ซึ่งทุกพื้นที่ของอำเภอบันนังสตาจะมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียอย่างต่อเหนืองสำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกม.26ใน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 4 ราย และโรคมาลาเรีย 2 ราย ทั้งสิ้น 6 ราย สาเหตุจากยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรคประกอบกับสภาพพื้นที่ของตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการระบาดของโรคนอกจากนี้พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ที่ยังไม่มีการควบคุมการป้องกัน เช่น การนอนไม่กางมุ้ง เป็นต้น จึงทำให้โรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรียจะมีการระบาดตลอดปี และมีการระบาดในทุกกลุ่มอายุ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ลดลง

 

2 2.เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ
ตัวชี้วัด : ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 583
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 583
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร (2) 2.เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh