กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบลีลาศด้วย 4 จังหวะ ปี 2566 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมลีลาศเพื่อสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบลีลาศด้วย 4 จังหวะ ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-02-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบลีลาศด้วย 4 จังหวะ ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบลีลาศด้วย 4 จังหวะ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบลีลาศด้วย 4 จังหวะ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L6895-02-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และเรียนรู้วิธีการออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะ
  2. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแก่สมาชิกชมรมลีลาศมีสุขภาวะที่ดี ลดการป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรังหรือภาวะ แทรกซ้อนของโรคได้ระดับหนึ่ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพและมีทักษะการออกกำลังกายด้วยลีลาศท่าพื้นฐานได้อย่างน้อย 4 จังหวะ
  2. สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาวะที่ดี อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนของโรคลดลงระดับหนึ่ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่  27  พฤษภาคม  2566 08.00 น. – 08.45 น. ลงทะเบียน/ประเมินคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น โดย  ชมรมลีลาศเพื่อสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง 08.45 น. – 09.00 น. พิธีเปิด - กล่าวเปิด โดย  นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง
- กล่าวรายงาน โดย  ประธานชมรมลีลาศเพื่อสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง 09.00 น. – 10.00 น. บรรยายเรื่อง  การส่งเสริมสุขภาพ ชะลอชรา ชีวียืนยาว โดย  วิทยากร  คุณเขมจิรา  สาลีผล 10.00 น. – 10.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.10 น. – 12.00 น. บรรยายเรื่อง  เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี
โดย  วิทยากร คุณเขมจิรา  สาลีผล 12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 14.00 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  ดนตรีในจังหวะบีกินและช่า ช่า ช่า การฟังและการ                               นับจังหวะ โดย  วิทยากร  คุณชไมกาญจน์  อ่อนสนิท 14.00 น. – 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.10 น. – 16.10 น.  บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง ดนตรีในจังหวะอเมริกันรุมบ้าและตะลุง การฟังและการนับจังหวะ โดย  วิทยากร  คุณชไมกาญจน์  อ่อนสนิท 16.10 น. – 16.30 น. ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้ .......................................................................................................

วันที่  28  พฤษภาคม  2566 08.00 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน โดย  ชมรมลีลาศเพื่อสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง 09.00 น. – 12.00 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การออกกำลังกายแบบลีลาศพื้นฐานในจังหวะบีกิน และจังหวะช่า ช่า ช่า โดย  วิทยากร  คุณชไมกาญจน์  อ่อนสนิท 12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 16.00 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การออกกำลังกายแบบลีลาศพื้นฐานในจังหวะอเมริกันรุมบ้าและตะลุง โดย  วิทยากร  คุณชไมกาญจน์  อ่อนสนิท 16.00 น. – 16.30 น. ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้ ประเมินความพึงพอใจ .......................................................................................................

หมายเหตุ  วันที่  28  พฤษภาคม  2566  รับประทานอาหารว่างระหว่างฝึกปฏิบัติในช่วงเช้าเวลา 10.00 – 10.10 น. และช่วงบ่ายเวลา  14.00 – 14.10 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง  จำนวน  70  คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น
  2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ชะลอชรา  ชีวียืนยาว  เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี  ดนตรีในจังหวะบีกิน, ช่าช่าช่า ,อเมริกันรุมบ้า และตะลุง พร้อมฝึกปฏิบัติการฟัง  และการนับจังหวะ  ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบลีลาศพื้นฐานในจังหวะบีกิน , ช่าช่าช่า , อเมริกันรุมบ้า และจังหวะตะลุง จำนวน  2  วัน  แก่สมาชิกชมรมลีลาศที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน  70  คน  ซึ่งจัดขึ้นจำนวน 2 วัน  ระหว่างวันที่  27 - 28  พฤษภาคม  2566 ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในวันที่  27  พฤษภาคม  2566  จำนวน  79  คน  โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพและด้านลีลาศมาให้ความรู้ดังกล่าว และในวันที่ 28  พฤษภาคม  2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านลีลาศมาให้ความรู้ดังกล่าว
  3. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ  ผลการปะเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน 70 คน  พบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ  90.2  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.51  ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
    1) เนื้อหาการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6
    2) กิจกรรมการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.60 คิดเป็นร้อยละ  92 3) เอกสารประกอบการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.29  คิดเป็นร้อยละ  85.8
    4) สื่อและอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.2 5) การอำนวยความสะดวก  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย 4.59 คิดเป็นร้อยละ 91.8 6) อาหารและอาหารว่าง  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 7) สถานที่อบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.81 คิดเป็นร้อยละ 96.2
    8) โสตทัศนูปกรณ์  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.41 คิดเป็นร้อยละ 88.2
    9) ระยะเวลาในการอบรม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.39 คิดเป็นร้อยละ 87.8
    10) ผลการประเมินโดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.66 คิดเป็นร้อยละ 93.2

 

70 0

2. กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 16:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศจำนวน 4 จังหวะอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งโดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย  เป็นระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 29  พฤษภาคม  2566  ถึงวันที่ 18  สิงหาคม  2566  โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย จำนวน  36 ครั้ง  มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยเฉลี่ยครั้งละ  25 คน  ดังนี้
- ครั้งที่ 1 วันที่  29  พฤษภาคม  2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  29  คน - ครั้งที่ 2 วันที่  31  พฤษภาคม  2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 3 วันที่  2  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 4 วันที่  5  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  26  คน - ครั้งที่ 5 วันที่  7  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  31  คน - ครั้งที่ 6 วันที่  9  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  28  คน - ครั้งที่ 7 วันที่  12  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  25  คน - ครั้งที่ 8 วันที่  14  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 9 วันที่  16  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 10 วันที่  19  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  31  คน - ครั้งที่ 11 วันที่  21  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  18  คน - ครั้งที่ 12 วันที่  23  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 13 วันที่  26  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  25  คน - ครั้งที่ 14 วันที่  28  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  25  คน - ครั้งที่ 15 วันที่  30  มิถุนายน 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  28  คน - ครั้งที่ 16 วันที่  3  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  26  คน - ครั้งที่ 17 วันที่  5  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  21  คน - ครั้งที่ 18 วันที่  7  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  26  คน - ครั้งที่ 19 วันที่  10  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  24  คน - ครั้งที่ 20 วันที่  12  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  28  คน - ครั้งที่ 21 วันที่  14  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  21  คน - ครั้งที่ 22 วันที่  17  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  19  คน - ครั้งที่ 23 วันที่  19  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  19  คน - ครั้งที่ 24 วันที่  21  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 25 วันที่  24  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  24  คน - ครั้งที่ 26 วันที่  26  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  23  คน - ครั้งที่ 27 วันที่  28  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 28 วันที่  31  กรกฎาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  23  คน - ครั้งที่ 29 วันที่  2  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  22  คน - ครั้งที่ 30 วันที่  4  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  24  คน - ครั้งที่ 31 วันที่  7  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  27  คน - ครั้งที่ 32 วันที่  9  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  22  คน - ครั้งที่ 33 วันที่  11  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  26  คน - ครั้งที่ 34 วันที่  14  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  23  คน - ครั้งที่ 35 วันที่  16  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  28  คน - ครั้งที่ 36 วันที่  18  สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  24  คน 2. ประเมินทักษะของสมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4  จังหวะหลังเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย 3 เดือน  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายร้อยละ 100  ผ่านการประเมินการออกกำลังกายด้วยลีลาศท่าพื้นฐานการเต้นลีลาศ  4  จังหวะ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง จำนวน 70 คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น
  2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ชะลอชรา ชีวียืนยาว เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี ดนตรีในจังหวะบีกิน, ช่าช่าช่า ,อเมริกันรุมบ้า และตะลุง พร้อมฝึกปฏิบัติการฟัง และการนับจังหวะ ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบลีลาศพื้นฐานในจังหวะบีกิน , ช่าช่าช่า , อเมริกันรุมบ้า และจังหวะตะลุง จำนวน 2 วัน แก่สมาชิกชมรมลีลาศที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน ซึ่งจัดขึ้นจำนวน 2 วัน ระหว่างวันที่ 27 - 28 พฤษภาคม 2566 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในวันที่ 27 พฤษภาคม 2566 จำนวน 79 คน โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพและด้านลีลาศมาให้ความรู้ดังกล่าว และในวันที่ 28 พฤษภาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านลีลาศมาให้ความรู้ดังกล่าว
  3. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ ผลการปะเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 70 คน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 90.2 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.51 ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
    1) เนื้อหาการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6
    2) กิจกรรมการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 3) เอกสารประกอบการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.29 คิดเป็นร้อยละ 85.8
    4) สื่อและอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.2 5) การอำนวยความสะดวก มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.59 คิดเป็นร้อยละ 91.8 6) อาหารและอาหารว่าง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 7) สถานที่อบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.81 คิดเป็นร้อยละ 96.2
    8) โสตทัศนูปกรณ์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.41 คิดเป็นร้อยละ 88.2
    9) ระยะเวลาในการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.39 คิดเป็นร้อยละ 87.8
    10) ผลการประเมินโดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.66 คิดเป็นร้อยละ 93.2
    1. จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศจำนวน 4 จังหวะอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งโดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย เป็นระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 ถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2566 โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย จำนวน 36 ครั้ง มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยเฉลี่ยครั้งละ 25 คน ดังนี้
    • ครั้งที่ 1 วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 29 คน
    • ครั้งที่ 2 วันที่ 31 พฤษภาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน

- ครั้งที่ 3 วันที่ 2 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 4 วันที่ 5 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 5 วันที่ 7 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน - ครั้งที่ 6 วันที่ 9 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 7 วันที่ 12 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - ครั้งที่ 8 วันที่ 14 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 9 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 10 วันที่ 19 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน - ครั้งที่ 11 วันที่ 21 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 18 คน - ครั้งที่ 12 วันที่ 23 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 13 วันที่ 26 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - ครั้งที่ 14 วันที่ 28 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - ครั้งที่ 15 วันที่ 30 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 16 วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 17 วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 21 คน - ครั้งที่ 18 วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 19 วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน - ครั้งที่ 20 วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 21 วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 21 คน - ครั้งที่ 22 วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน - ครั้งที่ 23 วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน - ครั้งที่ 24 วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 25 วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน - ครั้งที่ 26 วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - ครั้งที่ 27 วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 28 วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - ครั้งที่ 29 วันที่ 2 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน - ครั้งที่ 30 วันที่ 4 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน - ครั้งที่ 31 วันที่ 7 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 32 วันที่ 9 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน - ครั้งที่ 33 วันที่ 11 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 34 วันที่ 14 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - ครั้งที่ 35 วันที่ 16 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 36 วันที่ 18 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน 4. ประเมินทักษะของสมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะหลังเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย 3 เดือน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายร้อยละ 100 ผ่านการประเมินการออกกำลังกายด้วยลีลาศท่าพื้นฐานการเต้นลีลาศ 4 จังหวะ
5. สรุปค่าใช้จ่ายตามโครงการ จำนวน 40,510 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้   กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 วัน - ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน  7,200  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  8,400  บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน  9,800  บาท - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน    375  บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ผืน เป็นเงิน    375  บาท - ค่าถ่ายเอกสาร/แบบประเมิน เป็นเงิน    352  บาท - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  3,208  บาท 2. กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ - ค่าตอบแทนวิทยากรนำออกกำลังกาย 3 เดือน เป็นเงิน  10,800 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และเรียนรู้วิธีการออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ชองสมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะการออกกำลังกายด้วยลีลาศท่าพื้นฐาน จำนวน 4 จังหวะ 2. ร้อยละ 80 ของสมาชิกชมรมลีลาศมีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับดีมาก

 

2 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแก่สมาชิกชมรมลีลาศมีสุขภาวะที่ดี ลดการป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรังหรือภาวะ แทรกซ้อนของโรคได้ระดับหนึ่ง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และเรียนรู้วิธีการออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะ (2) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแก่สมาชิกชมรมลีลาศมีสุขภาวะที่ดี  ลดการป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรังหรือภาวะ แทรกซ้อนของโรคได้ระดับหนึ่ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบลีลาศด้วย 4 จังหวะ ปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-02-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมลีลาศเพื่อสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด