กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง จำนวน 70 คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น
  2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ชะลอชรา ชีวียืนยาว เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี ดนตรีในจังหวะบีกิน, ช่าช่าช่า ,อเมริกันรุมบ้า และตะลุง พร้อมฝึกปฏิบัติการฟัง และการนับจังหวะ ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบลีลาศพื้นฐานในจังหวะบีกิน , ช่าช่าช่า , อเมริกันรุมบ้า และจังหวะตะลุง จำนวน 2 วัน แก่สมาชิกชมรมลีลาศที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน ซึ่งจัดขึ้นจำนวน 2 วัน ระหว่างวันที่ 27 - 28 พฤษภาคม 2566 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในวันที่ 27 พฤษภาคม 2566 จำนวน 79 คน โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพและด้านลีลาศมาให้ความรู้ดังกล่าว และในวันที่ 28 พฤษภาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านลีลาศมาให้ความรู้ดังกล่าว
  3. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ ผลการปะเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 70 คน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 90.2 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.51 ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
    1) เนื้อหาการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6
    2) กิจกรรมการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 3) เอกสารประกอบการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.29 คิดเป็นร้อยละ 85.8
    4) สื่อและอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.2 5) การอำนวยความสะดวก มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.59 คิดเป็นร้อยละ 91.8 6) อาหารและอาหารว่าง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 7) สถานที่อบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.81 คิดเป็นร้อยละ 96.2
    8) โสตทัศนูปกรณ์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.41 คิดเป็นร้อยละ 88.2
    9) ระยะเวลาในการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.39 คิดเป็นร้อยละ 87.8
    10) ผลการประเมินโดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.66 คิดเป็นร้อยละ 93.2
    1. จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศจำนวน 4 จังหวะอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งโดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย เป็นระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 ถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2566 โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย จำนวน 36 ครั้ง มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยเฉลี่ยครั้งละ 25 คน ดังนี้
    • ครั้งที่ 1 วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 29 คน
    • ครั้งที่ 2 วันที่ 31 พฤษภาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน

- ครั้งที่ 3 วันที่ 2 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 4 วันที่ 5 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 5 วันที่ 7 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน - ครั้งที่ 6 วันที่ 9 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 7 วันที่ 12 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - ครั้งที่ 8 วันที่ 14 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 9 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 10 วันที่ 19 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน - ครั้งที่ 11 วันที่ 21 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 18 คน - ครั้งที่ 12 วันที่ 23 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 13 วันที่ 26 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - ครั้งที่ 14 วันที่ 28 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - ครั้งที่ 15 วันที่ 30 มิถุนายน 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 16 วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 17 วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 21 คน - ครั้งที่ 18 วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 19 วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน - ครั้งที่ 20 วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 21 วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 21 คน - ครั้งที่ 22 วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน - ครั้งที่ 23 วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน - ครั้งที่ 24 วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 25 วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน - ครั้งที่ 26 วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - ครั้งที่ 27 วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 28 วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - ครั้งที่ 29 วันที่ 2 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน - ครั้งที่ 30 วันที่ 4 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน - ครั้งที่ 31 วันที่ 7 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 27 คน - ครั้งที่ 32 วันที่ 9 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน - ครั้งที่ 33 วันที่ 11 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน - ครั้งที่ 34 วันที่ 14 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - ครั้งที่ 35 วันที่ 16 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - ครั้งที่ 36 วันที่ 18 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 24 คน 4. ประเมินทักษะของสมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะหลังเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย 3 เดือน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายร้อยละ 100 ผ่านการประเมินการออกกำลังกายด้วยลีลาศท่าพื้นฐานการเต้นลีลาศ 4 จังหวะ
5. สรุปค่าใช้จ่ายตามโครงการ จำนวน 40,510 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้   กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 วัน - ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน  7,200  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  8,400  บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน  9,800  บาท - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน    375  บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ผืน เป็นเงิน    375  บาท - ค่าถ่ายเอกสาร/แบบประเมิน เป็นเงิน    352  บาท - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  3,208  บาท 2. กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ - ค่าตอบแทนวิทยากรนำออกกำลังกาย 3 เดือน เป็นเงิน  10,800 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และเรียนรู้วิธีการออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ชองสมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะการออกกำลังกายด้วยลีลาศท่าพื้นฐาน จำนวน 4 จังหวะ 2. ร้อยละ 80 ของสมาชิกชมรมลีลาศมีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับดีมาก

 

2 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแก่สมาชิกชมรมลีลาศมีสุขภาวะที่ดี ลดการป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรังหรือภาวะ แทรกซ้อนของโรคได้ระดับหนึ่ง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกชมรมลีลาศที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และเรียนรู้วิธีการออกกำลังกายด้วยลีลาศ 4 จังหวะ (2) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแก่สมาชิกชมรมลีลาศมีสุขภาวะที่ดี  ลดการป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรังหรือภาวะ แทรกซ้อนของโรคได้ระดับหนึ่ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมออกกำลังกายแบบลีลาศ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh