กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการความปลอดภัยในการบริโภคจากสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.นาทับ
รหัสโครงการ 66-L5181-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.นาทับ
วันที่อนุมัติ 13 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กรกฎาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2566
งบประมาณ 9,045.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางประทีป ปิ่นทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกร(คน)ที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
10.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันถึงแม้จะมีการยกเลิกการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช จำพวกยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2562 เป็นต้นไป ซึ่งนับเป็นผลดีต่อผู้บริโภคที่จะได้ปลอดภัยจากสารเคมีดังกล่าวไปอีกช่องทางหนึ่ง แต่ในอีกด้านหนึ่งเกษตรที่มีสารเคมีจำพวกนี้อยู่ในครอบครอง ก็อาจมีการนำมาใช้ ก่อนที่จะมีกฎหมายมาบังคับ ซึ่งอาจใช้ในปริมาณมาก ไม่เหมาะสม ก็ยังมีผลกระทบต่อผู้บริโภคได้เช่นกัน ซึ่งจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ในการคัดกรองหาสารพิษตกค้างในผู้บริโภค ยังพบว่าผู้ที่มีความเสี่ยงในอัตราที่ยังสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ จึงเห็นควรดำเนินกิจกรรมการคัดกรองเจาะเลือดหาสารรพิษตกค้างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้บริโภคได้ทราบถึงสภาวการณ์ของสารพิษที่ตกค้าง พร้อมทั้งผลกระทบที่จะเกิดขึ้น อีกทั้งเพื่อจะได้เปรียบเทียบผลหลังจากที่มีกฏหมายยกเลิกการใช้สารเคมีในกลุ่มดังกล่าวด้วย และเพื่อให้ประชากรกลุ่มดังกล่าวได้หาแนวทางการป้องกันการรับสารพิษเข้าสู่ร่างกาย เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพในโอกาสต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ร้อยละเกษตรกรที่พบมีสารเคมีตกค้างในเลือด ไม่เกินร้อยละ 5

เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทราบระดับของสารพิษตกค้างของตนเอง

10.00 5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,045.00 6 9,045.00
1 - 15 ก.พ. 66 1.สำรวจข้อมูลประชาชนที่ประกอบอาชีพปลูกผัก 0 0.00 0.00
16 - 26 ก.พ. 66 2.รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 35 คน 0 2,120.00 2,330.00
1 - 30 มี.ค. 66 3.อาสาสมัครเจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้าง 0 1,805.00 2,095.00
1 - 30 เม.ย. 66 4.อบรมให้ความรู้อาสาสมัครที่เข้าร่วม 0 4,550.00 4,050.00
1 พ.ค. 66 - 30 มิ.ย. 66 5.ติดตามเจาะเลือดตรวจสารพิษตกค้างครั้งที่ 2 0 0.00 0.00
1 มิ.ย. 66 - 30 ก.ค. 66 6.สรุปโครงการ 0 570.00 570.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรและประชาชนทั่วไปได้รับการตรวจเลือด และรู้ผลมีสารเคมีตกค้างอยู่ในระดับใด 2.เกษตรกรมีความรู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช 3.เกษตรกรมีความรู้ในการป้องกันตัวเองหากมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2566 00:00 น.