กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : 1. แผนงานหรือโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์และได้รับการอนุมัติร้อยละ 100
100.00 100.00

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง มีแผนงาน/โครงการ ประจำปี 2566 มีการพิจารณาโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ซึ่งได้รับการอนุมัติทั้ง 7 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 เป็นเงิน 38,975 บาท 2) โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุงเป็นเงิน 12,290 บาท 3) โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก    ดารุลญันนะห์ เป็นเงิน 18,430 บาท 4) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด เป็นเงิน 48,750 บาท
5) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เป็นเงิน 39,900 บาท 6) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม เป็นเงิน 29,300 บาท 7) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เป็นเงิน 27,030 บาท

2 ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพและมีวัสดุเพียงพอต่อการดำเนินงาน ร้อยละ100
100.00 100.00

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการบริหารจัดการกองทุนฯ และมีการจัดทำรายงานของกองทุนฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : 1. หน่วยงาน/องค์กรต่างๆสามารถดำเนินงานได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ร้อยละ 100
100.00 100.00

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการกำกับดูแลและตรวจสอบหน่วยงานหรือกลุ่มอองค์กรผู้ที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณ ดำเนินการไปตามแผนงานคณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

4 ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีการทำรายงานการรับ-จ่ายเงินกองทุนครบตามกำหนด
100.00 100.00

กองทุนระบบหลักหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการรายงาน การจัดทำสรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุนฯ พร้อมทั้งรับรองรายงานรับ-จ่าย และเงินคงเหลือ ของกองทุนฯ เป็นรายเดือน และรายไตรมาสตามที่กำหนดอย่างถูกต้อง และครบถ้วน

5 ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน
ตัวชี้วัด : 1. คณะกรรมการกองทุนฯ อนุกรรมการ คณะทำงาน ได้รับการอบรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
100.00 100.00

การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน โดยใช้วาระแจ้งเพื่อทราบและวาระอื่นๆ แจ้งในที่ประชุมให้แก่คณะกรรมการทราบถึง อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนตามข้อ 16 แห่งประกาศฯ พ.ศ. 2561 กำหนดไว้ จำนวน 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองได้

6 ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
ตัวชี้วัด : 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯได้เข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
100.00 100.00

การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ ได้เข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางทำงานและทำความเข้าใจประกาศฯ กองทุนสุขภาพตำบล ฉบับ 2561 จำนวน 1 ครั้ง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 19
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19 19

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (4) ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ (5) ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน  อนุกรรมการ คณะทำงาน (6) ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวัสดุสำนักงาน/ค่าถ่ายเอกสาร/ค่าไวนิล (2) 2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง (3) 3. ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน (4) 4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง (5) 5. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง (6) 6. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการคณะทำงาน (7) 7. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ (8) 1.1 ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ A4, ปากกา, กระดาษปกฯลฯ) (9) 1.2 ค่าถ่ายเอกสาร (10) 1.3 ค่าไวนิล (11) 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (12) 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (13) 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (14) 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 (15) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 1 (16) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 2 (17) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 3 (18) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 4 (19) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (20) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (21) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (22) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 (23) 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (24) 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (25) 6.1 อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน  คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน (26) 7.1 เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh