กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แผนงานขยะ ปี 2566 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน
อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
ประจำปีงบประมาณ 2566

stars
ข้อมูลแผนงาน
ชื่อแผนงาน แผนงานขยะ ปี 2566 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน
ประเด็นแผนงาน แผนงานขยะ
องค์กร กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน
ปีงบประมาณ 2566
stars
สถานการณ์ปัญหา
สถานการณ์ปัญหาแบบสอบถาม
navigate_before 2565 navigate_next
ขนาด
1 ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
ปริมาณขยะจากครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนที่เทศบาล หรือ อบต. จัดเก็บต่อวัน (กิโลกรัม/วัน)
1,500.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด
94.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด
88.00
4 ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด
82.00
5 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด
83.00
6 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายจัดการขยะในชุมชนของท่าน
8.00
7 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
จำนวนหมู่บ้านหรือชุมชนทั้งหมด
80.00

 

stars
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ตัวชี้วัดขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

1,500.00 1,000.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

94.00 98.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

88.00 90.00
4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

82.00 84.00
5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

83.00 86.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

8.00 12.00
7 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ

80.00 100.00
stars
แนวทาง/วิธีการสำคัญ
แนวทางวิธีการสำคัญ
1 การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
  1. การพัฒนาทักษะประชาชนในชุมชน ในการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำอาหารสัตว์
  2. การพัฒนาหลักสูตรในโรงเรียน กิจกรรมการเรียนที่สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 3R (ใช้น้อย ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่)
  3. การเสริมสร้างองค์ความรู้ เทคนิคทางวิชาการ เทคโนโลยีที่หลากหลาย ให้แก่บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถวางแผน จัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
  4. การจัดทำสื่อ คลิป หนังสั้น เพื่อเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลด้านขยะและการจัดการขยะอย่างถูกต้อง มีความชัดเจนและเข้าใจง่ายให้ประชาชนได้รับทราบ
  5. ให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกเรื่องหลีกเลี่ยงซื้ออาหารจานด่วน การซื้อสินค้าที่บรรจุภัณฑ์ใช้ครั้งเดียวทิ้ง หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  6. ให้ความรู้แม่ค้า ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในการลดการใช้โฟม และเลือกใช้บรรจุภัณฑ์แทนโฟม ถุงพลาสติก
  7. รณรงค์ สร้างแคมเปญใช้แก้วน้ำ ขวดน้ำ แทนแก้ว ขวดพลาสติก
  8. การสร้างแกนนำบุคคล ครัวเรือน ต้นแบบในการลดขยะในชีวิตประจำวัน
  9. ร่วมกับร้านค้าชุมชนในการลดบรรจุภัณฑ์ โดยการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ลูกค้านำไปจากบ้าน เช่น ปิ่นโต กระเป๋า ถุงผ้า
  10. การรณรงค์ สร้างจิตสำนึกเพื่อลดขยะที่ต้นทางในระดับครัวเรือน หน่วยงาน องค์กร
  11. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ดำเนินการลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะ ตามหลักการ 3Rs คือ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก การใช้ภาชนะหรืออุปกรณ์ที่สามารถใช้ซ้ำในชีวิตประจำวัน เช่น กระบอกน้ำ ตะกร้า ปิ่นโต กล่องอาหารแบบพกพา การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ฯ
  12. สร้างจิตสำนึกในการรับประทานอาหาร ไม่ให้เหลือทิ้งทั้งในครัวเรือน โรงเรียน
  13. สร้างจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ลดการใช้กระดาษ
2 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะในชุมชน
  1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการแยกขยะในครัวเรือน โรงเรียน สำนักงาน หน่วยงานภาครัฐ ศาสนสถาน
  2. สนับสนุนให้เกิดการหมุนเวียนขยะที่ยังใช้ได้มาใช้ใหม่ เช่น การจัดตั้งศูนย์รับซื้อของเก่า ทั้งของท้องถิ่นและเอกชน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถนำขยะประเภทที่หมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้สะดวก
  3. มีกลุ่ม/ศูนย์รับขยะ Recycle ในชุมชนของเอกชน
  4. สร้างต้นแบบ เช่น ครัวเรือน โรงเรียน องค์กร หน่วยงาน ในการนำขยะหมุนเวียนมาใช้ใหม่ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ เช่น ทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ
  5. การส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ เช่น การนำเศษอาหารหรือผักจัดทำปุ๋ยหมัก หรือการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน เชื่อมโยงกับกลุ่มเกษตรกรเพาะปลูกอินทรีย์
  6. ประกวดนวัตกรรมการ recycle ในชุมชน
  7. สนับสนุนการสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชนจากขยะ เช่น การสร้างรองเท้าจากยางรถยนต์
  8. จัดให้มีศูนย์รับซ่อมอุปกรณ์ เครื่องใช้ในชุมชน
  9. จัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจด้านราคา เช่น โครงการใช้ถุงผ้า ปิ่นโต แก้ว ได้ราคาพิเศษ กิจกรรมหนึ่งแผงหนึ่งร้านหนึ่งถุงขยะอินทรีย์
  10. มีศูนย์หรือกิจกรรมการบริจาคสิ่งของที่ยังสามารถใช้งานได้ ส่งต่อให้กลุ่มเป้าหมายอื่น เช่น เสื้อผ้า หนังสือ รถจักรยาน ฯ
  11. จัดตั้งศูนย์การแลกเปลี่ยนของใช้ ศูนย์บริจาคของใช้
  12. ทอดผ้าป่าขยะในชุมชน
  13. จัดตั้งธนาคารขยะ/กองทุนขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล
  14. สนับสนุนให้มีมาตรการจูงใจเพื่อให้มีการจัดการขยะที่ดี เช่น ให้มีรางวัลการจัดการขยะที่ดี และการใช้กลไกราคาเพื่อการคัดแยกขยะและจัดการขยะอย่างมีคุณภาพ
  15. มีจุดรับขยะอันตรายในชุมชน
3 การปรับระบบ กลไก
  1. การจัดตั้งเครือข่าย “อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก” เพื่อส่งเสริมการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
  2. การจัดให้มีกลไกอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมระดับหมู่บ้าน เป็นแกนนำต้นแบบในการจัดการขยะครบวงจร
  3. การจัดให้มีกลไกสถานศึกษาโดยการผลักดันให้สถาบันการศึกษาทุกแห่ง มีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นด้านการจัดการขยะอันตราย
  4. การจัดให้มีกลไกตาวิเศษ ที่มีหน้าที่ในการติดตามตรวจสอบเฝ้าระวังจุดเสี่ยงต่อการทิ้งขยะสะสมในชุมชน เช่น ที่รกร้างว่างเปล่า ที่ลับตาผู้คน ที่ดินซึ่งมีการนำสิ่งของมาทิ้งประจำ
4 การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
  1. การส่งเสริมในกลุ่มคนในชุมชนสามารถจัดการข้อมูลเพื่อการจัดการขยะชุมชน โดยการสำรวจปริมาณขยะ และวิเคราะห์องค์ประกอบของขยะ โดยทีมอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมประจำหมู่บ้าน ทีม อสม. แกนนำเยาวชน ฯลฯ
  2. ชุมชนสามารถจัดทำแผนชุมชนด้านการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ตั้งแต่การจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดเวทีคืนข้อมูล จัดทำแผนแก้ปัญหา กำหนดแผนงาน โครงการร่วมกัน ปฏิบัติร่วมกัน และร่วมติดตามประเมินผล
5 การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการจัดการขยะในชุมชน
  1. การทำให้เกิดธรรมนูญสุขภาพ เรื่องการจัดการขยะชุมชน
  2. การกำหนดกฎ มาตรการ กติกา หรือข้อตกลงร่วมเรื่องการจัดการขยะของชุมชน เช่น การคัดแยกขยะ การใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าจ่ายตลาด การส่งเสริมการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะร้านอาหารและร้านค้าในชุมชน
  3. การกำหนดมาตรการ ข้อตกลงร่วม กฏ กติกา ธรรมนูญของชุมชนในการส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อเพิ่มการใช้ปุ๋ยหมัก ลดการใช้สารเคมี ซึ่งจะส่งผลถึงการใช้ประโยชน์ขยะอินทรีย์ ลดบรรจุภัณฑ์สารเคมีซึ่งเป็นขยะอันตราย
  4. การบังคับใช้กฏหมาย ข้อบัญญัติท้องถิ่นด้านการจัดการขยะตามที่กำหนดไว้
paid
งบประมาณที่ตั้งไว้ตามแผนงาน (บาท)
0.00
stars
โครงการที่ควรดำเนินการ
ชื่อโครงการย่อยประเภทผู้รับผิดชอบงบประมาณที่ตั้งไว้ (บาท)
1 โครงการธนาคารขยะตำบลกู่จาน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น ชุมชนตำบลกู่จาน 12 หมู่บ้าน 20,000.00
2 โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ สู่สังคมสามัคคี ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น ผู้นำชุมชนตำบลกู่จาน 80,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
3 โครงการครัวเรือนต้นแบบ ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น อบต.กู่จาน 20,000.00
stars
โครงการที่ขอการสนับสนุนจากกองทุน
ปีงบประมาณชื่อพัฒนาโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2566 โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ สู่สังคมสามัคคี 0.00 link
รวม 0.00
stars
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตาม
ปีงบประมาณชื่อติดตามโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2566 โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ สู่สังคมสามัคคี ผู้นำชุมชนตำบลกู่จาน 80,000.00
รวม 80,000.00