กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฆอลีเยาะ สุเร็ง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4120-01-03 เลขที่ข้อตกลง 04/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4120-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆเช่นโรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อน อาหารที่ไม่มีมาตรฐาน อาหารแปลกปลอม อาหารที่ไม่สะอาด เป็นต้น จากการสำรวจของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก พบว่า มีร้านจำหน่ายอาหาร/แผงลอย 4 ร้าน ยังไม่ได้รับป้าย 4 ร้าน แผงลอยจำหน่ายอาหารทอด 1 ร้าน ใช้น้ำมันทอดซ้ำร้อยละ 100 รถแร่จำหน่ายอาหารสด จำนวน 3 คัน ตรวจพบสารตกค้าง เช่นยาฆ่าแมลงในผัก ร้านชำจำนวน 8 ร้าน ร้อยละ 70  ร้านจำหน่ายอาหารสดในตลาดนัด 6 ร้าน ยังพบการจำหน่ายส่งของที่ไม่มี อย. จึงสามารถสรุปได้ว่าผู้ประกอบการต่างๆ ยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ดังนั้น เพื่อให้สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก จึงได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านซาไก จัดทำโครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย ปีงบประมาณ.2566โดยมีเป้าหมายการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการต่างๆ รวมทั้งตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อดูแลประชาชนให้ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีมาตรฐานรองรับ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ร้านอาหาร ร้านแผงลอยและรถเร่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเก็บตัวอย่างอาหาร
  2. กิจกรรมลงตรวจร้านค้า
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ร้านอาหาร ร้านแผงลอยและรถเร่ มีความรู้ในเรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
  2. ประชาชนได้รับการดูแลด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเก็บตัวอย่างอาหาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเก็บตัวอย่างอาหารในร้านอาหาร ร้านชำ  จำนวน 10 ร้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการลงเก็บตัวอย่างอาหาร จำนวน 10 ร้าน รอบที่1 พบสารปนเปื้อนในอาหาร
ร้อยละ 20 รอบที่2 พบสารปนเปื้อนในอาหาร 10

 

20 0

2. กิจกรรมลงตรวจร้านค้า

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงตรวจร้านค้า จำนวน 3 รอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการลงตรวจ ร้านค้า ร้านชำ จำนวน 19 ร้าน รอบที่1 พบการขายยา อันตราย เช่นยาสเตียรอยด์ ยาฆ่าเชื้อ ร้อยละ15.79 พบขนม เค้ก ไม่มีอย. ไม่มีฉลาก ร้อยละ 52.6 รอบที่2 พบการขายยา อันตราย เช่นยาสเตียรอยด์ ยาฆ่าเชื้อ ร้อยละ5.26 พบขนม เค้ก ไม่มีอย. ไม่มีฉลาก ร้อยละ 36.84 รอบที่3 พบการขายยา อันตราย เช่นยาสเตียรอยด์ ยาฆ่าเชื้อ ร้อยละ526 พบขนม เค้ก ไม่มีอย. ไม่มีฉลาก ร้อยละ 26.32

 

20 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับในเรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับในเรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย -Pre Test ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ ระดับปานกลางร้อยละ 50
ระดับน้อยร้อยละ 40 ระดับดีร้อยละ 10 -Post Test ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ระดับดี ร้อยละ 95 ระดับปานกลาง ร้อยละ5 2.ทำแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดอบรม -วิทยากร มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ100 -สถานที่ในการจัดอบรมมีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ100

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ร้านอาหาร ร้านแผงลอยและรถเร่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ร้านอาหาร ร้านแผงลอยและรถเร่ ได้รับความรู้ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ร้านอาหาร ร้านแผงลอยและรถเร่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเก็บตัวอย่างอาหาร (2) กิจกรรมลงตรวจร้านค้า (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมผู้ประกอบการ ร้านอาหาร ร้านค้า และแผงลอย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4120-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฆอลีเยาะ สุเร็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด