กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.ค้นหาและลดอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งเต้านม 2.ค้นหาและลดอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งปากมดลูก 3.ส่งต่อและรักษาอย่างทันท่วงที 4.เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน 5. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม 6. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ 7. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 6 ปี 8. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 9.ค้นหาและกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์เร็วที่สุด 10.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว หญิงวัยเจริญพันธ์ อสม.มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในขณะตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ 11.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการเฝ้าระวังและติดตาม 12.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว หญิงวัยเจริญพันธ์ และอสม.มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลการตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 13.เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ๑.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุตั้งแต่ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ๒.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุตั้งแต่ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อยร้อยละ ๒๐ ๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี 4.เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงร้อยละ ๙๕ 5.เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงร้อยละ ๙๕ 6.เด็กอายุแรกเกิด- ๖ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ ร้อยละ ๙๕ 7.มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินโครงการ 8.มีครอบครัวต้นแบบด้านโภชนาการและพัฒนาการที่ดีในชุมชนเพิ่มมากขึ้น 9.หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ ๑๒ สัปดาห์ อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ 10.หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ ๗๕ 11. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์อย่างน้อย ร้อยละ๖๕ 12.หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว และอสม.มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลการตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ ๙๐ 13.มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ๖ เดือนร้อยละ ๖๐
5.00 0.00