กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมอบรมแกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)/ทีม SRRT ตำบล 1 พ.ย. 2565 1 พ.ย. 2565

 

อบรมแกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)/ทีม SRRT ตำบล

 

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    3. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

 

กิจกรรมดำเนินการประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน พร้อมให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค 1 พ.ย. 2565 1 พ.ย. 2565

 

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน พร้อมให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค

 

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    3. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

 

กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) 1 พ.ย. 2565 1 พ.ย. 2565

 

รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)

 

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    3. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่