กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อยได้มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการเลือกซื้อสินค้า ร้อยละ 100 2.นักเรียนสามารถตรวจสอบอาหารด้วยสารปนเปื้อนได้ ร้อยละ100 3.นักเรียนสามารถเฝ้าระวังอาหารไม่ปลอดภัยในโรงเรียน ร้อยละ100

 

 

 

2 2เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะในการตรวจสอบสาร ปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบพิจารณาสังเกตสารปนเปื้อนหรือ สารอันตรายโดยสังกตจากลักษณะทางกายภาพของอาหารยาและ เครื่องสำอางได้
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการเลือกซื้อสินค้า ร้อยละ 100 2.นักเรียนสามารถตรวจสอบอาหารด้วยสารปนเปื้อนได้ ร้อยละ100 3.นักเรียนสามารถเฝ้าระวังอาหารไม่ปลอดภัยในโรงเรียน ร้อยละ100

 

 

 

3 3.เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ ในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารใน โรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการเลือกซื้อสินค้า ร้อยละ 100 2.นักเรียนสามารถตรวจสอบอาหารด้วยสารปนเปื้อนได้ ร้อยละ100 3.นักเรียนสามารถเฝ้าระวังอาหารไม่ปลอดภัยในโรงเรียน ร้อยละ100