กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการ มีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 23 คน โดยมีการส่งแบบตอบรับเข้าร่วม จำนวน 23 คน แต่ในวันที่ ดำเนินโครงการฯ เข้าร่วม แค่ 19 คน สรุปความพึงพอใจการเข้าร่วมอบรม ดังนี้ 1. ความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ   ภาพรวมผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4. 25 มีหัวข้อระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้
  1. รูปแบบ/หัวข้อ ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 4.32 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
  2. ท่านได้รับความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้ และความพึงพอใจในเนื้อหาโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ 4.21 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

  1. ความพึงพอใจด้านการดำเนินการ   ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยที่ 3.89 โดยมีหัวข้อระดับความ  พึงพอใจจากมากไปหาน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้
      1. อาหาร/อาหารว่าง/เครื่องดื่ม ค่าเฉลี่ย 4.21 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด   2. สถานที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 3.84 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก   3. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 3.63 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก

  2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร   ภาพรวมผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.39 มีหัวข้อระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้   1. การนำเสนอชัดเจนและมีระเบียบแบบแผน ค่าเฉลี่ย 4.52 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
      2. วิทยากรสามารถถ่ายทอด หรือตอบข้อซักถามได้เป็นอย่างดี ค่าเฉลี่ย 4.47 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
      3. ความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยภาพรวม ค่าเฉลี่ย 4.34 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด   4. เนื้อหาครบถ้วนตามหลักสูตรที่กำหนด ค่าเฉลี่ย 4.21 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการอบรม

    • ควรจัดกิจกรรมบ่อยๆ เพื่อเพิ่มความรู้ให้เกษตรกร
    • เพิ่มความรู้ในการอบรม เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพดินในแปลงปลูก
    • ควรเพิ่มระยะเวลาการจัดอบรมให้มากกว่านี้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้เกษตรกร ประชาชนและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2 เพื่อให้เกิดชุมชนนำร่องในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
ตัวชี้วัด : -เกษตรกร ประชาชน และบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -มีหมู่บ้านนำร่อง ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพจากพืชสมุนไพรหรือเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 23 19
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 23 19
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้เกษตรกร ประชาชนและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2 เพื่อให้เกิดชุมชนนำร่องในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ จากการสำรวจกลุ่มเป้าหมายมีผู้แจ้งเอกสารตอบกลับเข้าร่วมโครงการฯ ครบตามจำนวน ที่ตั้งไว้ตามแผนคือ จำนวน 23 คน แต่ในวันที่ดำเนินโครงการฯ มีผู้เข้าร่วมจริง จำนวน 19 คน ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ จำนวน 4 คน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh