กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

หลายคนอาจไม่คาดคิดว่าพฤติกรรมการใช้ชีวิตของคนเราอย่างไม่ระมัดระวัง เมื่อสะสมนานวันเข้าส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบไม่รู้ตัวได้ มาทำความรู้จักกันว่าโรคอะไรบ้างโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกชื่อภาษาอังกฤษสั้น ๆว่า โรค NCDs เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการ ติดเชื้อโรค และไม่ได้ติดต่อจากคนสู่คน โดยการสัมผัสหรือการหายใจแต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสมของเรากลุ่มโรค NCDs นี้ ประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน ลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ โรค NCDs เป็นโรคที่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้ ด้วยการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน จนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ ที่จะสามารถจัดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) จัดเป็นความรู้ความสามารถของบุคคลในการที่จะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ เสาะแสวงหา สืบค้นและทำความเข้าใจ แปลความหมายข้อมูลสุขภาพที่ได้รับหรือเข้าถึงได้ จนเกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกและใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อได้นั้น หากประชาชนกลุ่มนี้ไม่ได้รับการจัดการพฤติกรรมสุขภาพจะส่งผลให้ประชากรกลุ่มมีโรคเรื้อรังตามมา คณะทำงานจึงมีมติร่วมกันว่าควรจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 256๖ เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสุขภาพ และทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะบ้า มีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีวัตุประสงค์ เพื่อคัดกรอง และกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีความตระหนักและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้           วิธีการดำเนินงาน คัดกรองความดัน เจาะเลือดคัดกรองระดับน้ำตาลปลายนิ้ว ตรวจวัด ค่า BMI ภาวะซึมเศร้า ประชาชนในหมู่ 4 บ้านโหล๊ะบ้า ที่มีอายุ 35 ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง รายละเอียดกิจกรรม สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต.โหล๊ะบ้าร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ จัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมให้บริการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือด พร้อมแปรผลการตรวจเลือด และรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค รายละเอียดกิจกรรมรับสมัครสมาชิกที่มีรอบเอว BMI เกินหรือประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่สนใจเข้าร่วมโครงการประเมินความรู้ ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพ กำหนดเป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการ โดยรอบเอวน้ำหนักและค่า BMI ต้องลดลงร้อยละ 10ของก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยบันทึกข้อมูลลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำตัวของผู้เข้าร่วม ดำเนินงานตามแผนงานโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้กระบวนการกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน         ผลการดำเนินกิจกรรม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรค เบาหวาน จำนวน 380 คน คิดเป็น 95 %ของประชาชกรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 123 คน กลุ่มสงสัยปวยโรคความดันโรคหิตสูง 73 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 9 คน ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 1 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 1 คน ซึ่งจำนวนผู้ปาวยเบาหวานลดลงจากปี 2565 จาก 7 คน 1 คน และจากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 123 คน ได้รับสมัครเข้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน จากการประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ คิด เป็น 100 %

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ