โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคติดต่อ และโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในช่วงการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาด และหลังการระบาดของโรค (2) ข้อที่ 2. เพื่อการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ในชุมชน และในสถานที่ราชการ และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกองค์กรในชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมประชุมประชาคม (2) 2. กิจกรรมอบรม ทีม SRRT ในพื้นที่ (3) 3. กิจกรรมในชุมชน (4) 4. กิจกรรมในโรงเรียน (5) 4.1 กิจกรรมป้องกันโรคล่วงหน้าใน รร.การพ่นเคมีทำลายยุงตัวเต็มวัยก่อนเปิดเทอมในโรงเรียน จำนวน 6 โรง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 3 แห่ง และฝึกอบรมศาสนาอิสลาม จำนวน 2 แห่ง รวม 11 แห่ง โดยดำเนินการ ปี ละ 2 ครั้งๆ ละ 2 ครั้ง (6) 1.1 ประชุมประชาคมหมู่บ้านแต่ละหมู่เพื่อหาแนวทาง และมาตรการต่างๆ จากชุม ในการดำเนินงานป้องกันโรคไข้เลือดออก (7) 2.1 กิจกรรมอบรมฟื้นฟูให้ความรู้เรื่องโรค และการดำเนินงานเกี่ยวกับโรคติดต่อในปี 66 (8) 3.1 กิจกรรมการรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน จำนวน 6 หมู่บ้าน (9) 4.3 กิจกรรมรณรงค์ สำรวจทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายบริเวณโรงเรียน ในทุกวันศุกร์ (10) 3.2 กิจกรรมการสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน สัปดาห์ 1 ครั้ง โดยทีม SRRT พร้อมทั้งคืนข้อมูลที่ได้เข้าสู่เวทีประชุมหมู่บ้าน และหอกระจายข่าวหมู่บ้าน (11) 3.3 กิจกรรมกรณีเกิดโรค อสม.ในการพ่นเคมีทำลายยุงตัวเต็มวัยในกรณีเข้าข่ายสงสัย การเกิดโรคระบาดในพื้นที่ จำนวน 3 ครั้ง ต่อผู้ป่วย 1 ราย (12) 4.2 กิจกรรมการให้ความรู้ใน รร.เพื่อให้เด็ก นร.มีความรู้ ความตระหนักในการรักษาความสะอาดของ รร. และขยายผลสู่ครัวเรือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...