กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง รวมถึงประชาชนทั่วไปในหมู่ที่ 1 2 6 และหมู่ที่ 7 ต.จะทิ้งพระ อ.สทิงพระ จ.สงขลา จำนวนเป้าหมายในโครงการ 120 คน ประโยชน์ของโครงการ 1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ 2. ประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วย ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 จัดทำแผนการตรวจคัดกรอง พร้อมแจ้งแผนการดำเนินงานให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้สามารถคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่างๆ โดยวัดความดันโลหิตและตรวจคัดกรองเบาหวานได้ โดยดำเนินการให้ความรู้เรื่องแนวทางการคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชน และการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :

 

3 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านใช้เครื่องมือคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชน คัดกรองผู้มีโอกาสเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิต
ตัวชี้วัด :

 

4 จัดให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อการป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย (2) จัดทำแผนการตรวจคัดกรอง พร้อมแจ้งแผนการดำเนินงานให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้สามารถคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่างๆ โดยวัดความดันโลหิตและตรวจคัดกรองเบาหวานได้ โดยดำเนินการให้ความรู้เรื่องแนวทางการคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชน และการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านใช้เครื่องมือคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชน คัดกรองผู้มีโอกาสเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิต (4) จัดให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อการป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh