แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง |
10.00 | |||||
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
20.00 | |||||
3 | เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง |
5.00 | |||||
4 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด |
10.00 | |||||
5 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
12.00 | |||||
6 | เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง |
5.00 | |||||
7 | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม 4. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อการรักษา ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 90 2.ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต ร้อยละ 90 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตรวจคัดกรองซ้ำ ร้อยละ 90 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100 |