กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

หลังจากดำเนินโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕66  ทำให้ชุมชนมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ มีสุขภาพที่ดีต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้ารับการอบรม อย่างน้อยละ 80
1.00

 

2 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง
ตัวชี้วัด : 1.มีทะเบียนผู้ประกอบอาชีพประมง 2.มีแผนการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง
1.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ
ตัวชี้วัด : 1.ผลการคัดกรองสุขภาพ 2.ชมรมการออกกลำกายในชุมชน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 81
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 81
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง (2) พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการทำอาชีพประมง    1.1 ประเมินและวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงโรคจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน    1.2 จัดทำทะเบียนผู้ประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน    1.3 จัดตั้งชมรมและคณะกรรมการเครือข่าย    1.4 สร้า (2) กิจกรรมที่ ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคจากการประกอบอาชีพประมงและการเฝ้าระวังป้องกันโรคและสภาพ  แวดล้อมจากการทำงาน      2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคจากการประกอบอาชีพประมงและการเฝ้าระวังป้องกันโรคและสภาพ  แวดล้อมจากการทำงาน        2.2 กิจกรรมฝึกทักษะใ (3) กิจกรรมที่6 ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการ      ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการออกกำลังกาย ด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (4) กิจกรรมที่ 4.อบรมเชิงปฏิบัติในการจัดทำนวัตกรรมลดโรคจากการประกอบอาชีพประมง  4.1 นำวัสดุของที่ไม่ไม่แล้ว หรือ ขยะ มาเป็นวัสดุในการจัดทำ 4.2 สาธิตวิธีจัดทำนวัตกรรม 4.3 ฝึกอบรม.อบรมเชิงปฏิบัติในการจัดทำนวัตกรรม (5) กิจกรรมที่3.คัดกรองสุขภาพ      3.1 ประเมินและวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงโรคจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน    3.2 คัดกรองสุขภาพ          3.3 ติดตามเยี่ยมสถานประกอบการและผู้ที่ได้รับ        ผลกระทบโรคจากการประกอบอาชีพประมงและ    สภาพแวดล้อ (6) กิจกรรมที่ 5.จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและสิ่งแวดล้อมจากการประกอบอาชีพประมง  -ร่วมเสนอแผนและแนวทาง -จัดทำแผนการเฝ้าระวังป้องกันโรคและสิ่งแวดล้อมจากการประกอบอาชีพประมง (7) อบรมเชิงปฏิบัติในการจัดทำนวัตกรรมลดโรคจากการประกอบอาชีพประมง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh