แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
การส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุ | 1 เม.ย. 2566 | 24 ส.ค. 2566 |
|
๑. ขั้นเตรียมการ
1.1 ประสานงานและจัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง |
|
๑. อัตราการเกิดโรคฟันผุของผู้สูงอายุลดลง ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ประชาชน ในชุมชนได้ 3. ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับบริการทางทันตกรรมอย่างทั่วถึง 4. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน |
|
กิจกรรมการประดิษฐ์นวัตกรรมแปรงสีฟันด้ามโต และสาธิตฝึกปฏิบัติการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธี โดยใช้เม็ดสีย้อมฟัน | 1 เม.ย. 2566 | 24 ส.ค. 2566 |
|
๒.2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธี โดยใช้เม็ดสีย้อมฟัน ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้ 2.2.1 ให้ผู้สูงอายุอมเม็ดสีย้อมฟัน เพื่อดูประสิทธิภาพการแปรงฟัน ๒.2.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ เรื่อง การแปรงฟันที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันโรคฟันผุ และการใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์อักเสบ 2.2.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันและการใช้ไหมขัดฟันจริง ในกลุ่มผู้สูงอายุ 2.2.4 ติดตามเยี่ยนมบ้านผู้สูงอายุ 3 เดือน/ครั้ง และมีการทาฟลูออไรด์วานิชในกลุ่มเสี่ยง 2.2.5 ร่วมกันสร้างนวตกรรมแปรงสีฟันด้ามโต สำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องกล้ามเนื้อ เนื่องจากเมื่ออายุมากขึ้นกล้ามเนื้อจะฝ่อลง ความยืดหยุ่นของข้อ เอ็น และกล้ามเนื้อจะลดลง ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุไม่อยากแปรงฟัน |
|
๑. อัตราการเกิดโรคฟันผุของผู้สูงอายุลดลง ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ประชาชน ในชุมชนได้ 3. ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับบริการทางทันตกรรมอย่างทั่วถึง 4. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน |
|