กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการสร้างพลังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างพลังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 ตุลาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างพลังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างพลังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างพลังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L6895-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 ตุลาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหัวใจและหลอดเลือดคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตกโดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่าในทุก ๆ 2 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คนองค์การอนามัยโลกได้ทำนายไว้ว่าในปี พ.ศ.2573 ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจโดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนาประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละปี 150,000 รายโรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศปัจจัยด้านพฤติกรรมเช่นการออกกำลังกายอาหารการสูบบุหรี่ดื่มสุราและปัจจัยทางกายภาพเช่น ความดันโลหิตระดับไขมันในเลือดและเบาหวานปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกันซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น จากข้อมูลระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.ตรัง ปี 2560พบว่า ในเขตเทศบาลเมืองกันตังมีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน105คนส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปและมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดสมองและภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดจำนวน 19 คน เช่นเดียวกันและจากการคัดกรองความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดปี 2560(CVD Risk)ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงพบว่าผลการประเมินส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่ำ(< 10%)จำนวน 335 คนรองลงมาคือเสี่ยงปานกลาง (10 ≤ 20 %) จำนวน239 คนเสี่ยงสูง (20 ≤ 30 %) จำนวน102 คนเสี่ยงสูงอันตราย (≥ 40 %)จำนวน 87คนและเสี่ยงสูงมาก (30 ≤ 40 %) จำนวน76 คน ตามลำดับทางศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองจึงได้จัดทำโครงการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ในระดับหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกิดความตระหนักถึงการ ป้องกันเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ /อัมพาต) โรคหัวใจ โรคไตวาย
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์/ อัมพาต) โรคหัวใจ ไตวาย ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองสามารถป้องกันมิให้เกิดโรค หลอดเลือดสมอง(อัมพฤกษ์/ อัมพาต) หัวใจโรคไตวาย
    2. อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต)หัวใจโรคไตวาย ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่เกิน 10%

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ติดตามเยี่ยมบ้าน

    วันที่ 1 ธันวาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ และติดตามเยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ และติดตามเยี่ยมฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำซึ่งมีผู้ป่วยได้รับการติดตาม/เยี่ยมบ้าน ฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ  จำนวน 102 ราย

     

    0 0

    2. อบรมเชิงปฏิบัติการ

    วันที่ 26 มกราคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียน โดยเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง
    2. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 71 คน เมื่อวันที่ 26 ม.ค. 2561 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง โดยบรรยายในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงกับภาวะแทรกซ้อนของโรค และการประเมินความเสี่ยงจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต และแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4 ฐาน ได้แก่ ฐานกินยาถูกต้อง วิธี..ชีวีปลอดภัย ฐานปรับเปลี่ยนอาหาร โดยปั่น (อาหาร)..ลดโรค ฐานสมาธิบำบัด (SKT) ลดความดันโลหิตสูง และฐานปรับเปลี่ยนตนเองอย่างไร ลดโรคแทรกซ้อนทางไต โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
    3. ตอบข้อซักถามและสรุปผลการเรียนรู้
    4. ประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ ผู้เข้ารับการอบรมตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 63 คน สรุปผลได้ ดังนี้ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจโครงการโดยรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 82.2 มีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้านสถานที่ คิดเป็นร้อยละ 87.4 รองลงมา คือ ด้านการฟังบรรยาย และวิทยากรผู้บรรยาย มีความพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 82 เช่นเดียวกันกับด้านวิทยากรและสื่อที่ใช้ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ มีความพึงพอใจมาก และด้านเวลา มีความพึงพอใจมากเช่นกัน คิดเป็นร้อยละ 81 ตามลำดับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    60 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกิดความตระหนักถึงการ ป้องกันเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ /อัมพาต) โรคหัวใจ โรคไตวาย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์/ อัมพาต) โรคหัวใจ ไตวาย ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต)โรคหัวใจโรคไตวาย ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่เกิน 10 %

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง  ได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกิดความตระหนักถึงการ    ป้องกันเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ /อัมพาต)  โรคหัวใจ  โรคไตวาย (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์/ อัมพาต) โรคหัวใจ ไตวาย  ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างพลังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L6895-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด