กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมตามโครงการผู้สูงอายุใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 แบ่งการจัดกิจกรรมออกเป็น 6 ครั้ง ในแต่ละกิจกรรมกำหนดเป้าหมายผู้เข้าร่วมไว้จำนวน 30 คน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ จัดในวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ณ อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลโคกยาง ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 30 คน กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการให้ความรู้การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุและการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าจัดในวันที่ 20 กรกฎาคม 2566 ณ อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลโคกยาง ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 30 คน กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพจิตสำหรับผู้สูงอายุ จัดในวันที่ 27 กรกฎาคม 2566 ณ อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลโคกยาง ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 30 คน กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมกินอยู่อย่างปลอดภัยในวัยบั้นปลาย จัดในวันที่ 3 สิงหาคม 2566 ณ อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลโคกยาง ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 30 คน กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมรับฟังธรรมะเสริมพลังชีวิต จัดในวันที่ 10 สิงหาคม 2566 ณ วัดโคกยาง ผูู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 30 คน กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมการให้ความรู้ประโยชน์ของน้ำสมุนไพรและการทำน้ำสมุนไพร จัดในวันที่ 17 สิงหาคม 2566 ณ อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลโคกยาง ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 30 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักวิธีการในการดูแลตัวเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตัวเองเกินร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักวิธีการในการออกกำลังที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการออกกำลังกายที่ถูกวิธีเกินร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีเกินร้อยละ 80
80.00

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างปลอดภัยเกินร้อยละ 80
80.00

 

5 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักธรรมในการดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจหลักธรรมในการดำรงชีวิตเกินร้อยละ 80
80.00

 

6 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักประโยชน์และทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักประโยชน์และทำน้ำสมุนไพรได้เกินร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักวิธีการในการดูแลตัวเอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักวิธีการในการออกกำลังที่ถูกวิธี (3) เพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างปลอดภัย (5) เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักธรรมในการดำรงชีวิต (6) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักประโยชน์และทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกายสำหรับผู้สูงอายุ/กิจกรรมการกินอยู่อย่างปลอดภัย/กิจกรรมนันทนาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพจิต (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุและการออกกำลังกาด้วยผ้าขาวม้า (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมกินอยู่อย่างปลอดภัยในวัยบั้นปลาย (5) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการรับฟังธรรมมะเสริมพลังชีวิต (6) กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมการให้ความรู้ประโยชน์ของน้ำสมุนไพรและการทำน้ำสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh