โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและมีเกษตรกรส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมี ที่ไม่ถูกต้อง ปลอดภัย ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและ เรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรัง สารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น มะเร็งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรม การใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้นทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชน และผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้น
ประชาชน(เกษตรกรหรือผู้ที่มีความเสี่ยง)ในตำบลนาท่อมอำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ส่วนมากมีการดำรงชีวิตที่สัมผัสกับสารเคมีอยู่ทุกวัน เช่น ในกลุ่มเกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การใช้ปุ๋ยเคมีจำนวนมาก ประชาชนโดยทั่วไปก็ยังได้รับสารเคมีจากการบริโภคและการสัมผัส ตลอดทั้งการใช้สารเคมีต่างๆในชีวิตประจำวันซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง จากการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงระดับสูง(เกษตรกรและผู้ที่สัมผัสสารเคมีโดยตรงจากการสำรวจของ อสม.ในพื้นที่) ปีงบประมาณ 2563 จำนวน 700 คน จากกลุ่มอาชีพเกษตรกรเป็นส่วนใหญ่ พบว่าประชาชน(เกษตรกรหรือผู้ที่มีความเสี่ยง) มีผลการตรวจสารเคมีตกค้างที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยเป็น จำนวน 350 คน จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่าเกษตรกรในตำบลนาท่อมยังคงมีการสัมผัสและการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อมจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม ปี 2566 ขึ้น เพื่อเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภคในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไปต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการตรวจคัดกรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานและอบรมพัฒนาศักยภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
- สร้างความรู้ ความเข้าใจพร้อมกับปฏิบัติการตรวจสารเคมีในเลือดแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง
- ติดตามให้ความรู้การเฝ้าระวังสารเคมีในเลือด
- ติดตามกลุ่มเสี่ยงประเมินผลซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยงที่มีผลการตรวจไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ยง
- ประชุมสรุปประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้แกนนำอสม.ที่มีความรู้สามารถตรวจสารเคมีในเลือดได้ จำนวน 40 คน
2.จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน 400 คน
3.หน่วยงาน องค์กรต่างๆได้รับข้อมูลผลการตรวจสารเคมีตกค้างในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเพิ่มขึ้น
16.00
40.00
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการตรวจคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดลดลง
350.00
200.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
400
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการตรวจคัดกรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและอบรมพัฒนาศักยภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) สร้างความรู้ ความเข้าใจพร้อมกับปฏิบัติการตรวจสารเคมีในเลือดแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง (3) ติดตามให้ความรู้การเฝ้าระวังสารเคมีในเลือด (4) ติดตามกลุ่มเสี่ยงประเมินผลซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยงที่มีผลการตรวจไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ยง (5) ประชุมสรุปประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและมีเกษตรกรส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมี ที่ไม่ถูกต้อง ปลอดภัย ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและ เรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรัง สารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น มะเร็งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรม การใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้นทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชน และผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้น
ประชาชน(เกษตรกรหรือผู้ที่มีความเสี่ยง)ในตำบลนาท่อมอำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ส่วนมากมีการดำรงชีวิตที่สัมผัสกับสารเคมีอยู่ทุกวัน เช่น ในกลุ่มเกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การใช้ปุ๋ยเคมีจำนวนมาก ประชาชนโดยทั่วไปก็ยังได้รับสารเคมีจากการบริโภคและการสัมผัส ตลอดทั้งการใช้สารเคมีต่างๆในชีวิตประจำวันซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง จากการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงระดับสูง(เกษตรกรและผู้ที่สัมผัสสารเคมีโดยตรงจากการสำรวจของ อสม.ในพื้นที่) ปีงบประมาณ 2563 จำนวน 700 คน จากกลุ่มอาชีพเกษตรกรเป็นส่วนใหญ่ พบว่าประชาชน(เกษตรกรหรือผู้ที่มีความเสี่ยง) มีผลการตรวจสารเคมีตกค้างที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยเป็น จำนวน 350 คน จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่าเกษตรกรในตำบลนาท่อมยังคงมีการสัมผัสและการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อมจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม ปี 2566 ขึ้น เพื่อเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภคในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไปต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการตรวจคัดกรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานและอบรมพัฒนาศักยภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
- สร้างความรู้ ความเข้าใจพร้อมกับปฏิบัติการตรวจสารเคมีในเลือดแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง
- ติดตามให้ความรู้การเฝ้าระวังสารเคมีในเลือด
- ติดตามกลุ่มเสี่ยงประเมินผลซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยงที่มีผลการตรวจไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ยง
- ประชุมสรุปประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้แกนนำอสม.ที่มีความรู้สามารถตรวจสารเคมีในเลือดได้ จำนวน 40 คน
2.จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน 400 คน
3.หน่วยงาน องค์กรต่างๆได้รับข้อมูลผลการตรวจสารเคมีตกค้างในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเพิ่มขึ้น |
16.00 | 40.00 |
|
|
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการตรวจคัดกรอง ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดลดลง |
350.00 | 200.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 400 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. มีความรู้ในการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงของเกษตรที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการตรวจคัดกรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและอบรมพัฒนาศักยภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) สร้างความรู้ ความเข้าใจพร้อมกับปฏิบัติการตรวจสารเคมีในเลือดแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง (3) ติดตามให้ความรู้การเฝ้าระวังสารเคมีในเลือด (4) ติดตามกลุ่มเสี่ยงประเมินผลซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยงที่มีผลการตรวจไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ยง (5) ประชุมสรุปประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลนาท่อม จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......