กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อให้หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพ ช่องปาก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง และ ได้รับการฝึกแปรงฟันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 75 ของหญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก ฝึกแปรงฟัน

 

 

 

2 2.หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 30 ของหญิงมีครรภ์ได้รับการขูดหิน น้ำลาย

 

 

 

3 3.เด็กกลุ่มอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการฉีดวัคซีนคลินิกเด็กดี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และเคลือบฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของเด็กวัย 0-2 ปีได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก 2.ร้อยละ 50 ของเด็กวัย 0-2 ปีได้รับการ เคลือบฟลูออไรด์วานิช

 

 

 

4 1.เพื่อให้เด็กกลุ่มอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ นักเรียนชั้นอนุบาล ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันต บุคลากร ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ และ ได้รับการอุดฟันโดยเทคนิค SMART
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 70 ของเด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปีใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันต บุคลากร และนักเรียนที่มีข้อบ่งชี้เคลือบ ฟลูออไรด์วานิช ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วา นิชเพื่อป้องกันฟันผุ 2.ร้อยละ 10 ของเด็กก่อนวัยเรียน 3-5 ปี ที่มี ข้อบ่งชี้ต้องอุดฟันโดยเทคนิค SMART ได้รับ การอุดฟันโดยเทคนิค SMART

 

 

 

5 1.เพื่อให้เด็กกลุ่มอายุ 6-12 ปี (ป.1-ป.6) ได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก ได้รับการเคลือบได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันใน ฟันกรามแท้ และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับการขูดหิน น้ำลาย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 30 ของนัก เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีข้อบ่งชี้ในการเคลือบหลุมร่องฟัน ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ 2.ร้อยละ 50 ของนักเรียนอายุ 6-12 ปี ได้รับ การตรวจสุขภาพช่องปาก 3.ร้อยละ 50 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 ได้รับการขูดหินน้ำลาย