กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค ไม่ให้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ข้อที่ 3 อาสาสมัครสาธารณสุขมีอุปกรณ์เพียงพอในการตรวจคัด กรองและติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลแก่กลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ90ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถ ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ได้ - อาสาสมัครสาธารณสุขมีอุปกรณ์เพียงพอในการตรวจคัดกรองและติดตามที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
60.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1736
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,736
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง          โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ข้อที่ 2  เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค          ไม่ให้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ข้อที่ 3  อาสาสมัครสาธารณสุขมีอุปกรณ์เพียงพอในการตรวจคัด          กรองและติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลแก่กลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมคณะทำงาน ชี้แจงแนวทางดำเนินโครงการ (2) 2. ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับสถานการณ์ อาการและสาเหตุของการทำให้เกิดโรค ฝึกปฏิบัติวิธีการใช้เครื่องมือในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต (3) 3. อาสาสมัครสาธารณสุข ออกรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตเชิงรุกแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในชุมชน เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่สนใจใน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และการออกกำลังกาย จำนวน 100 คน (4) 4. กิจกรรมอบรมกลุ่มเสี่ยงในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  การบรโถคตามหลัก 3อ 2ส จำนวน 100 คน ติดตามการวัดความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลที่บ้านโดย อาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh