กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีผู้ป่วยในชุมชนเพิ่มขึ้น เพราะการควบคุมโรคไข้เลือดออกต้องมีการร่วมมือช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกภาคส่วนในชุมชน จึงจะทำให้มีการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนได้รับความรู้และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการกำจัดลูกน้ำยุงลายและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนได้รับความรู้เรื่องไข้เลือดออกและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่องทุกเดือน
0.00

 

2 ข้อ ๒. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ค่า HI < 10 และ CI = 0 หมายเหตุ : ค่า HI คือ ร้อยละของบ้านที่สำรวจพบลุกน้ำยุงลาย/ ค่า CI คือ ร้อยละของภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลาย

 

3 ข้อ ๓. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตรับผิดชอบไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 340
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนได้รับความรู้และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการกำจัดลูกน้ำยุงลายและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่อง ๒. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ๓. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตรับผิดชอบ โดยมีผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ๑. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ๒. สอบสวนโรคและควบคุมการระบาด ๓. สำรวจลูกน้ำยุงลาย มีผลสัมฤทธิ์ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เนื่องจากมีผุ้ป่วยในชุมชนเพิ่มขึ้น เพราะการควบคุมโรคไข้เลือดออกต้องมีการร่วมมือช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกภาคส่วนในชุมชน จึงจะทำให้มีการป้องกันและควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh