กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดตั้งคณะทำงานทีมเคลื่อนที่เร็วในชุมชน 21 ส.ค. 2566 13 ต.ค. 2566

 

จัดตั้งคณะทำงานทีมป้องกัน ควบคุม เคลื่อนที่เร็วในชุมชน 1 ทีม

1.ประชุมคัดเลือกคณะทำงานและแต่งตั้งคณะกรรมการ

2.แบ่งครัวเรือนในความรับผิดชอบให้คณะกรรมการแต่ละคน

3.ชี้แจงรายละเอียดการทำงานภาระงานที่ได้รับมอบหมาย

4.จัดตั้งกลุ่มไลน์ของคณะทำงานเพื่อติดต่อประสานงาน และเก็บรวบรวมข้อมูลในการทำโครงการ

 

ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติงานแก่คณะทำงาน ชี้แจงรายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมและงบประมาณที่ได้รับ จัดตั้งคณะทำงานโครงการวางแผนการปฏิบัติและมอบหมายงานให้แก่คณะทำงาน

ครั้งที่ 2 ประชุมชี้แจงสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านบนควน เพื่อดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดในหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังประชาชนในชุมชนโดยการลงสำรวจลูกน้ำยุงลายสัปดาห์ละ 1 ครั้งในเขตรับผิด ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและวิธีการป้องกันอย่างต่อเนื่อง และรายงานผลการปฏิบัติงานครั้งที่ 1 สอบถามข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขในการปฏิบัติงานครั้งต่อไป

ครั้งที่ 3 และ 4 ประชุมคณะทำงาน สรุปกิจกรรมที่ดำเนินการแล้วและยังไม่ดำเนินการ สอบถามข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขในการปฏิบัติงาน

 

ประชุม/ชี้แจง 21 ส.ค. 2566 27 ต.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการทำงานการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ครั้ง

  • ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้แก่แกนนำหมู่บ้านและแกนนำครอบครัวทราบวิธีการปฏิบัติงานของชุดคณะทำงานเคลื่อนที่เร็วในชุมชน ในการปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

  • จัดตั้งกลุ่มไลน์แกนนำครอบครัวในความรับผิดชอบของคณะทำงานแต่ละคนเพื่อรวบรวมข้อมูลแต่ละครัวเรือนและใช้ในการให้ความรู้ คำแนะนำในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

  • ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านบนควน

 

การนำเทคโนโลยีมาประยุกค์ใช้ในการติดต่อประสานงาน 21 ส.ค. 2566 2 ต.ค. 2566

 

สร้างกลุ่มไลน์ หรือเฟสบุ๊ค เพื่อรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค การป้องกันควบคุมโรค

1.สร้างกลุ่มไลน์ประสานกับเขตบ้านที่รับผิดชอบ

2.สร้างกลุ่มไลน์ประสานงานระหว่างคณะทำงานในทีม

3.สร้างกลุ่มไลน์ประสานงานคณะทำงานทั้งตำบลรวมถึงเจ้าหน้าที่ ที่ปรึกษาโครงการ

 

  • คณะทำงานร่วมกับแกนนำชุมชน และเจ้าหน้าหน้าอปท. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสร้างกลุ่มไลน์รายงานผลการระบาดของโรคไข้เลือดออกและการติดตามเคลื่อนที่เร็วในกลุ่มไลน์

 

สร้างผลิตภัณฑ์ไล่ยุง 21 ส.ค. 2566 17 พ.ย. 2566

 

จัดทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่ยุง

1.คณะทำงานศึกษาการทำผลิตภัณฑ์ไล่ยุง จากสูตรในอินเตอร์เน็ต

2.คณะทำงานร่วมกันจัดทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่ยุง/สเปรย์ไล่ยุง

3.นำผลิตภัณฑ์ที่ผลิตแจกจ่ายให้กับชุมชน/ผู้ที่มีความเสี่ยง

 

  • ร้อยละ 100 คณะทำงานดำเนินการจัดทำสมุนไพรแจกครบทุกครัวในเขตพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านบนควน และมีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์/แผ่นผับให้ความรู้กับประชาชน พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายและลงพื้นที่สร้างกระแสประชาสัมพันธ์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

 

ประชาสัมพันธ์ 21 ส.ค. 2566 1 พ.ย. 2566

 

  • ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่อง โรคไข้เลือดออก มาตรการการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยคณะทำงาน รายละเอียดกิจกรรม

-ให้ความรู้กับประชาชน ในเรื่องปัจจัยที่ก่อให้เกิดการป่วย โดยการจัดการบ้านเรือนของตนเองไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และวิธีการปฏิบัติเมื่อสงสัยว่าจะป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก อาจจะทำได้หลายช่องทาง

1.การจัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้

2.การประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหอกระจายข่าวหมู่บ้าน

3.ทางโรงเรียน โดยการให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปถ่ายทอด และไปปฏิบัติที่บ้าน

4.แจกเอกสาร เช่น แผ่นพับ คู่มือ

 

  • มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์/แผ่นผับให้ความรู้กับประชาชน พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง รณรงค์/ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายและลงพื้นที่ ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและวิธีการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ร้อยละ 93 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

 

สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI,CI 21 ส.ค. 2566 12 ธ.ค. 2566

 

  • ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน โดยคณะทำงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก พร้อมสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI,CI ในหมู่บ้าน ประเมิน 2 เดือนครั้ง เป็นระยะเวลา 6 เดือน

 

  • ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านบนควน โดยการลงประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และการสำรวจลูกน้ำยุงลาย อาทิตย์ล่ะ 1 ครั้ง ตามเขตครัวเรือนที่รับผิดชอบ ร้อยละ 95 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI ไม่เกินร้อยละ 10 และ ค่า CI = 0

 

กิจกรรมควบคุม ป้องกัน 21 ส.ค. 2566 2 ต.ค. 2566

 

  • ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออกกรณีเกิดการระบาด โดยการลงพื้นที่เคลื่อนที่เร็ว พ่นหมอกควัน กำจัดยุงลายและใส่ทรายอะเบททำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

  • จัดซื้อเคมีภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ กระเป๋าเคลื่อนที่เร็วที่ใช้ในการกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกระเป๋าทั้ง 3 ใบตามจำนวนคณะทำงาน ในกระเป๋า 1 ใบ ประกอบไปด้วย

1.สเปร์ไล่ยุง 3 กระป๋อง 2.ไฟฉ่าย 1 กระบอก 3.ถุงมือ 1 กล่อง 4.หน้ากากอนามัย 1 กล่อง 5.แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย 5 ชุด (สำรองเอกสารตามครัวเรือนที่รับผิดชอบ) 6.แบบรายงานสอบสวนโรค 5 ชุด (สำรองเอกสารตามครัวเรือนที่รับผิดชอบ) 7.ทรายอะเบท

 

  • จัดเตรียมเคมีภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ กระเป๋าเคลื่อนที่เร็วที่ใช้ในการกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกระเป๋าทั้ง 3 ใบตามจำนวนคณะทำงาน ในกระเป๋า 1 ใบ ประกอบไปด้วย สเปร์ไล่ยุง 2 กระป๋อง ไฟฉ่าย 1 กระบอก ถุงมือ 1 กล่อง หน้ากากอนามัย 1 กล่อง แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย 5 ชุด (สำรองเอกสารตามครัวเรือนที่รับผิดชอบ) แบบรายงานสอบสวนโรค 5 ชุด (สำรองเอกสารตามครัวเรือนที่รับผิดชอบ) ทรายอะเบท เตรียมพร้อมรองรับสถานการณ์ไข้เลือดออก

 

ประชุมถอดบทเรียน 1 ส.ค. 2567 2 ต.ค. 2566

 

  • ประชุมถอดบทเรียน ติดตาม ประเมินผลการดเนินงาน ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ครั้ง เป้าหมาย จำนวน 17 คน

  • คณะทำงาน จำนวน 3 คน

  • แกนนำหมู่บ้าน จำนวน 2 คน ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน, สมาชิกสภา

  • แกนนำครอบครัว จำนวน 12 คน (เขตรับผิดรับละ 14 คน)

-เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ อปท. จำนวน 2 คน

 

กิจกรรมถอดบทเรียนจากการดำเนินกิจกรรมโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านบนควน ร้อยละ 100 ไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตหมู่ที่ 3 ดำเนินการตามโครงการหลังเสร็จสิ้นโครงการเพื่อควบคุมสถานการณ์ของโรคต่อไป

 

รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ส.ค. 2567 1 ส.ค. 2567

 

  • รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  • จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

 

จัดทำเล่มรายงาน จำนวน 4 เล่ม ให้กับทางกองทุนฯ อบต.กำแพง 2 เล่ม