กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

จำนวนคนในชุมชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงอย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก และให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่่องสม่ำเสมอ

คนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลงอย่างต่อเนื่อง

คนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลงอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

 

 

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก

คนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

คนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงอย่างต่อเนื่อง

ปรับรูปแบบโครงการให้เข้ากับสถานการณ์