กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันการเกิดโรคต่างๆ มีความรุนแรงและระบาดอย่างกว้างขวางถึงขั้นคร่าชีวิตมนุษย์อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะโรคอุบัติใหม่เป็นโรคที่เกิดจากสัตว์ติดต่อสู่คน เช่น โรคอีโบลา โรคไข้หวัดนก โรคไข้เลือดออก โรคซาร์
โรคพิษสุนัขบ้า โรคโควิด-19 เป็นต้น ในกระบวนการเฝ้าระวังทั้งโรคในคนและโรคในสัตว์ของประเทศไทยได้ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง แต่ระบบการเฝ้าระวังและการป้องกันโรคยังเป็นระบบการทำงานของภาครัฐเป็นส่วนใหญ่โดยเฉพาะหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุขและกรมปศุสัตว์ ซึ่งอาจมีข้อจำกัดด้านโครงสร้างและงบประมาณที่ขับเคลื่อนด้วยราชการส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการเฝ้าติดตามเพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคระบาดที่มีความสำคัญกับสุขภาพคนในชุมชน ยังไม่มีระบบใดที่ส่งเสริมให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ของตนเอง ระบบการเฝ้าระวังโรคจากสัตว์สู่คนและโรคสัตว์อยู่ภายใต้การทำงานของภาครัฐเพียงฝ่ายเดียว นอกจากนี้ด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับอาหาร เช่น อาหารเสีย บูด เน่า อาหารปนเปื้อนสารเคมี อาหารเป็นพิษ ตลอดจนผลกระทบด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค รวมไปถึงด้านการส่งเสริมสุขภาพและให้การดูแลช่วยเหลือกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งภาคประชาชนยังไม่มีส่วนร่วมในการรายงานปัญหาอย่างแท้จริง ในยุค Thailand 4.0 เทคโนโลยีดิจิตอลมีบทบาทกับประชาชนทุกกลุ่มวัยค่อนข้างมาก ซึ่งถือได้ว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการติดต่อสื่อสาร เช่น สมาร์ทโฟนระบบ WiFi ที่ประชาชนใช้กันอย่างกว้างขวาง เพื่อการติดต่อสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้วยความรวดเร็วฉับไวทันต่อสถานการณ์ จึงเป็นหนึ่งแนวคิดที่ทำให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ สถาบันการศึกษา ประชาชนและภาคเอกชน โดยคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดทำและพัฒนาระบบและโปรแกรมผ่อดีดี (PODD) เพื่อการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดสัตว์ที่ติดต่อถึงคน เพื่อสร้างระบบกลไกความร่วมมือในการบูรณาการการแจ้งเหตุสงสัยการเกิดภัยด้านสาธารณสุข ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชนหมู่บ้านและตำบลให้รวดเร็วทันเหตุการณ์ เพื่อรับมือป้องกัน ควบคุมและบรรเทาปัญหาโรคระบาดในคน สัตว์สาธารณะภัยและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดิน น้ำ ป่า ด้วยการใช้ระบบและโปรแกรมผ่อดีดี (PODD) ที่มีประสิทธิภาพสูง ทำให้สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ลดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นหน่วยงานใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดและมีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในเรื่องต่างๆ ให้กับประชาชนตามอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด ซึ่งเป็นระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ งานกู้ชีพฉุกเฉิน งานด้านความมั่นคงการป้องกันยาเสพติด งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและภารกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง องค์การบริหารส่วนตำบลบกเห็นถึงประโยชน์ของการนำเทคโนโลยีดิจิตอล ระบบและโปรแกรมผ่อดีดี (PODD) มาประยุกต์ใช้ในชุมชนต่างๆ ทั้ง 17 ชุมชนภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบกเพื่อการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดสัตว์ที่ติดต่อถึงคน ผลกระทบด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค รวมไปถึงด้านการส่งเสริมสุขภาพและให้การดูแลช่วยเหลือกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ โดยความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่เป็นอาสาสมัครผ่อดีดี รายงานข้อมูลเหตุต่างๆ ด้วยระบบและโปรแกรมผ่อดีดี (PODD) และเก็บรวบรวมวิเคราะห์ส่งผ่านข้อมูลระหว่างชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดหรือการเกิดเหตุได้ทันที สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ลดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีเป้าประสงค์สำคัญคือ ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีถือเป็นโอกาสอันดีที่เทศบาลนครสุราษฎร์ธานีจะได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการดังกล่าวและจะเป็นผู้นำในการเข้าร่วมพัฒนาระบบและโปรแกรมผ่อดีๆ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและเป็นแบบอย่างแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆต่อไป

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ