กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2ส. ไม่น้อยกว่า 60

 

3 เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX>=100 mg/dl ) ได้รับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX>=100 mg/dl ) ได้รับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

 

4 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 - ุ65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35-65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข็มข้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

 

5 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1846
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,486
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 110
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง (3) เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX>=100 mg/dl ) ได้รับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 - ุ65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk (5) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข็มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD risk (4) กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh