กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิธีการดำเนินการ 1.วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.จัดทำโครงการขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคูหาใต้ 3.ประชุมชี้แจงโครงการ การดำเนินงานกับอาสาสมัครสาธารณสุข 4.จัดหาและเตรียมอุปกรณ์ 5.จัดทำแผนการออกตรวจน้ำตาลในเลือด และตรวจวัดความดันโลหิต 6.ประชาสัมพันธ์โครงการแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 7.คัดกรองภาวะเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิต 8.ดำเนินการตรวจน้ำตาลในเลือดและตรวจวัดความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยง พร้อมทั้งให้สุขศึกษาการปฏิบัติตัวในการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 9.ส่งตัวผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนขัน 10.ให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเสี่ยง นัดติดตาม 11.ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตบลคูหาใต้ ผลการดำเนินงาน 1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 96.39 ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 97.25 ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน 2.จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อ จำนวน 12 ราย 3.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 95

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานได้รับการเจาะหาน้ำตาลในเลือดทุกราย
70.00 70.00

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานได้รับการเจาะหาน้ำตาลในเลือดทุกราย

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง
70.00 70.00

ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงความดันโลหิตและเบาหวาน ตลอดถึงได้รับการประเมินผลภาวะสุขภาพเบื้องต้น
95.00 95.00

ร้อยละ 95 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงความดันโลหิตและเบาหวาน ตลอดถึงได้รับการประเมินผลภาวะสุขภาพเบื้องต้น

4 เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
70.00 70.00

ลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

5 เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
50.00 50.00

เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2295 3617
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,295 3,617
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ และส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาโดยพบแพทย์ทุกราย (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง    มีความรู้ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง    มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ (4) เพื่อลดภาวการณ์ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (5) เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน และมีหมู่บ้านต้นแบบอย่างน้อย 1 หมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh