กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ในพื้นที่ตำบลตอหลัง ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ.2566 จนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคม มีการระบาดเรื่องจากเป็นช่วงฤดูฝน ทำให้มีน้ำขัง พบผู้ป่วยแล้ว 3 ราย ติดต่อกัน ในหมู่ที่ 3 จำนวน 1 ราย และในหมู่ที่ 2 จำนวน 2 ราย แนวโน้มระบาดสูง หากไม่ช่วยกันควบคุมป้องกัน การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์โดยยึดหลัก 3 เก็บ ป้องกันโรค เก็บบ้าน เก็บขยะ เก็บน้ำ ป้องกันไม่ให้ยุงกัด ไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน และประชาชนในพื้นที่ทุกคน เพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกระบาดได้อย่างยั่งยืน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน(HI) ลดลง (3) เพื่อลดอัตราการป่วยของ ปชช.ด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่(ต่อแสน ปชก.) ลดลง โดยมีวิธีดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟื้นฟูแกนนำและเยาวชนป้องกันโรคไข้เลือดออก และร่วมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย (2) กิจกรรมพ่นสารเคมีเผชิญเหตุและพ่นประจำ จ้างพ่นโดย (3) กิจกรรมฟื้นฟูแกนนำและเยาวชนป้องกันโรคไข้เลือดออก และร่วมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย (4) กิจกรรมพ่นสารเคมีเผชิญเหตุและพ่นประจำ จ้างพ่นโดย ทีม SRRT ของ เทศบาลตำบลตอหลังและแกนนำ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

  1.กิจกรรมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 127 ราย ในวันที่ 19 กันยายน 2566 ละแวกพื้นที่หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง
  2.กิจกรรมฟื้นฟูให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับแกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 127 ราย ในวันที่ 19 กันยายน 2566 ณ โรงเรียนบ้านดูซงปาแย หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง
  3.กิจกรรมพ่นยุงลายในพื้นที่เสี่ยง ในหมู่บ้าน และสถานที่เสี่ยงที่มีคนจำนวนมาก ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , เทศบาลตำบลตอหลัง และโรงเรียนบ้านดูซงปาแย

  ข้อเสนอแนะ ได้แก่
  (1) เห็นควรรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุก 7 วัน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

  (2) เห็นควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

1.เห็นควรรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุก 7 วัน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ