กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
        1.กิจกรรมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 127 ราย ในวันที่ 19 กันยายน 2566 ละแวกพื้นที่หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง
        2.กิจกรรมฟื้นฟูให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับแกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 127 ราย ในวันที่ 19 กันยายน 2566 ณ โรงเรียนบ้านดูซงปาแย หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง
        3.กิจกรรมพ่นยุงลายในพื้นที่เสี่ยง ในหมู่บ้าน และสถานที่เสี่ยงที่มีคนจำนวนมาก ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , เทศบาลตำบลตอหลัง และโรงเรียนบ้านดูซงปาแย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
127.63 49.00 159.54

ปี 66 มีผู้ป่วย 5 ราย (15/11/65ม.1,20/12/65ม.1,4/4/66ม.3,3/8/66ม.3และ10/8/66ม.2) ปชก.3134

2 เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน(HI) ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน(HI) ไม่เกินร้อยละ 10
32.00 9.00 8.46

พบลูกน้ำ 52หลัง 615หลังคาเรือน

3 เพื่อลดอัตราการป่วยของ ปชช.ด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่(ต่อแสน ปชก.) ลดลง
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยในละแวกเดียวป่วยด้วยไข้เลือดออก
100.00 0.00 0.00

ไม่มีผู้ป่วยซ้ำในละแวกเดียวกัน ภายใน14วัน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 127 127
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87 87
กลุ่มวัยทำงาน 40 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ในพื้นที่ตำบลตอหลัง ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ.2566 จนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคม มีการระบาดเรื่องจากเป็นช่วงฤดูฝน ทำให้มีน้ำขัง พบผู้ป่วยแล้ว 3 ราย ติดต่อกัน ในหมู่ที่ 3 จำนวน 1 ราย และในหมู่ที่ 2 จำนวน 2 ราย แนวโน้มระบาดสูง หากไม่ช่วยกันควบคุมป้องกัน การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์โดยยึดหลัก 3 เก็บ ป้องกันโรค เก็บบ้าน เก็บขยะ เก็บน้ำ ป้องกันไม่ให้ยุงกัด ไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน และประชาชนในพื้นที่ทุกคน เพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกระบาดได้อย่างยั่งยืน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน(HI) ลดลง (3) เพื่อลดอัตราการป่วยของ ปชช.ด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่(ต่อแสน ปชก.) ลดลง โดยมีวิธีดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟื้นฟูแกนนำและเยาวชนป้องกันโรคไข้เลือดออก และร่วมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย (2) กิจกรรมพ่นสารเคมีเผชิญเหตุและพ่นประจำ จ้างพ่นโดย (3) กิจกรรมฟื้นฟูแกนนำและเยาวชนป้องกันโรคไข้เลือดออก และร่วมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย (4) กิจกรรมพ่นสารเคมีเผชิญเหตุและพ่นประจำ จ้างพ่นโดย ทีม SRRT ของ เทศบาลตำบลตอหลังและแกนนำ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

  1.กิจกรรมรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 127 ราย ในวันที่ 19 กันยายน 2566 ละแวกพื้นที่หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง
  2.กิจกรรมฟื้นฟูให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับแกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 127 ราย ในวันที่ 19 กันยายน 2566 ณ โรงเรียนบ้านดูซงปาแย หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง
  3.กิจกรรมพ่นยุงลายในพื้นที่เสี่ยง ในหมู่บ้าน และสถานที่เสี่ยงที่มีคนจำนวนมาก ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , เทศบาลตำบลตอหลัง และโรงเรียนบ้านดูซงปาแย

  ข้อเสนอแนะ ได้แก่
  (1) เห็นควรรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุก 7 วัน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

  (2) เห็นควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh