กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการการออกกำลังกายเปลี่ยนแปลงไปในแนวทางที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามรถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองด้านสุขภาพได้ ร้อยละ 60

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามรถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองด้านสุขภาพได้ ร้อยละ 60

 

3 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีค่า ดัชนีมวลกาย (BMI) เกิน มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI )ลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลการลดลง ร้อยละ 10 ของน้ำหนักกลุ่มเสี่ยง

 

4 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตะหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมากเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการการออกกำลังกายเปลี่ยนแปลงไปในแนวทางที่ดีขึ้น (2) 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้ (3) 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีค่า ดัชนีมวลกาย (BMI) เกิน  มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI )ลดลง (4) 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสู่สุขภาพดีแบบยั่งยืน หมู่ที่ 5 บ้านคลองเฉลิม (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้  จำนวน 6 วัน (3) กิจกรรมออกกำลังโดยการรำกลองยาว สัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 3 วัน อยู่ระหว่าง 30 – 60 นาที ต่อเนื่องกันหรือขึ้นอยู่กับอิริยาบถ ระดับความหนักของจังหวะ และท่าทางของการออกกำลังกายจากการรำกลองยาว (4) กิจกรรมประชุมและประเมินผลกลุ่มเสี่ยงหลังจากการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh