กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆในผู้ป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความตระหนักเรื่องโรค ความสำคัญ และการดูแลตนเองยิ่งขึ้นสามารถปฏิบัติตัวและวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพสามารถวางแผนการดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กิจกรรมตามโครงการ อบรมให้ความรู้และการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2566 ในครั้งนี้ได้สอดคล้องกับจัดบริการคลินิกพิเศษตรวจและรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งมาจากการรณรงค์คัดกรองเบาหวาน ความดันในกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไปในพื้นที่และรับโอนรักษาต่อจากสถานบริการอื่น มีผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 189 คนแยกเป็นผู้ป่วยเบาหวาน 30 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 126 คน และเป็นทั้งเบาหวานและความดัน 42 คนผู้ป่วยเหล่านี้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลายอย่าง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเส้นเลือดตีบหรือแตกในสมอง( Stroke ) , โรคไตวายเรื้อรัง , CVA., อัมพฤกษ์ , อัมพาต ,จอประสาทตาเสื่อมจากภาวะเบาหวานขึ้นตา , โรคติดเชื้ออื่นๆดังนั้นนอกจากการให้บริการตรวจรักษาและกินยาอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยแล้วก็มีความจำเป็นที่จะต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรังเหล่านี้เป็นประจำทุกปี เพื่อให้การดูแลรักษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ความสำเร็จและประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน     จากการสังเกตและการสอบถามในที่อบรม ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตำบลสันป่าม่วง มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ ตั้งใจฟังการบรรยาย เรื่องการตรวจสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนประจำปี  ได้ให้การโต้ตอบข้อซักถาม และถามคำถามที่ยังไม่เข้าเรื่องการตรวจ ผลการตรวจตลอดการอบรมเป็นระยะๆ โดยได้รับความรู้จากวิทยากรที่มีความรู้ความชำนาญ ทักษะและประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากโรงพยาบาลพะเยาเป็นอย่างดี

ปัญหาและอุปสรรค 1.ปัญหาเรื่องสื่อการสอนและอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2.ขาดบุคลากรเฉพาะทาง/ชำนาญการในการเจาะเลือด และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. จัดหาอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. จัดบุคคลากรเฉพาะทางที่มีความชำนาญในการให้บริการเพื่อความถูกต้องแม่นยำของการตรวจเลือดและตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ