กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี

ชื่อโครงการ โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะในประชาชนที่ยังขาดภูมิคุ้มกันและทักษะในการดำเนินชีวิตภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมในยุคปัจจุบัน อีกทั้งยังมีปัญหาการใช้สารเสพติดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาการใช้สารเสพติดก็ยังเป็นปัญหาที่นำมาซึ่งโรคติดต่อเช่น โรคเอดส์ โรคประสาทหลอน โรคซึมเศร้า เป็นต้น มาตรการที่จะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ได้อย่างแท้จริงและมีความยั่งยืนประการหนึ่งคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ประชาชนทั่วไป รวมถึงต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคมด้วยการให้ความสำคัญในการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเรื่องโรคเอดส์ยังคงเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนทั่วไปได้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
จากข้อมูลของ NAP Web Report ของปี 2565 ที่ผ่านมา จังหวัดยะลามีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 68 ราย พบเป็นช่วงอายุ20-24 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.88 ช่วงอายุ25-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.17และช่วงอายุ50ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 27.94 จากข้อมูลจะพบว่าผู้ติดเชื้อสามารถพบได้มากในช่วงวัยทำงานและเบตงเป็นอำเภอที่มีการประกอบอาชีพที่ให้บริการหลากหลาย โดยเฉพาะสถานบริการและสถานบันเทิงอำเภอเบตงมีเป็นจำนวนมากจึงทำให้มีผู้ประกอบอาชีพและผู้มารับบริการทั้งในสถานบริการ สถานบันเทิงเป็นจำนวนมาก ซึ่งสอดคล้องกับรายงานข้อมูลดังกล่าว
ดังนั้น งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองเบตง ได้ตระหนักถึงปัญหาที่เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน อาจทำให้เกิดการระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ได้ จึงได้จัดโครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปในเขตเทศบาลเมืองเบตง เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคมต่อไป ซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ของเทศบาลเมืองเบตง ภายใต้พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไป มีความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  2. 2. เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของการติดเชื้อเอดส์ วิธีป้องกัน และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่และแนะนำแก่คนในชุมชนให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่อไป
  3. 3. เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไปมีทัศนะคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และการติดต่อของโรคเอดส์,พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์,โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และช่องทางการติดเชื้อเอดส์และวิธีการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอดส์
  2. กิจกรรมถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ                 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการตามโครงการ                 3.ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง                 4.จัดเตรียมทำเอกสารต่างๆและวัสดุอื่นๆ ป้ายผ้า/ไวนิล ตามความจำเป็นในการให้ความรู้และจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ในโครงการฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
                5.ดำเนินการฝึกอบรม                   5.1 โดยวิธีการบรรยายให้ความรู้ จากวิทยากรชำนาญการเฉพาะทาง
                5.2 จัดกิจกรรมกลุ่มย่อยให้แกนนำสุขภาพและประชาชนมีความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
                5.3 ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มประชาชนทั่วไปในสถานบริการต่างๆ และประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลเมืองเบตง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไป มีความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของการติดเชื้อเอดส์ วิธีป้องกัน และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่และแนะนำแก่คนในชุมชนให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่อไป และเพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไปมีทัศนะคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชน โดยจัดอบรมในวันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 08.00 น.-16.30 น. ณ ห้องประชุมศูนย์บริการสาธารณสุข (กาแป๊ะ กม.3) เทศบาลเมืองเบตง มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 70 คน
โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ ได้ดำเนินการโดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และการติดต่อของโรคเอดส์ พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และช่องทางการติดเชื้อเอดส์และวิธีการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอดส์ กิจกรรมทั้งหมดได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการประชุมการวางแผนงาน ดำเนินการจัดกิจกรรมและมีการสรุป ประเมินผลในแต่ละกิจกรรม โดยมีผลด้านคุณภาพ คือ แกนนำชุมชน ประชาชนทั่วไป และเจ้าหน้าที่ ความเข้าใจและมีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความตระหนักถึงอันตรายของการติดเชื้อเอดส์ วิธีป้องกัน และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่และแนะนำแก่คนในชุมชนให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่อไปได้ และมีทัศนะคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชนมากขึ้น และสามารถถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้สามารถนำไปใช้และเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และด้านปริมาณแกนนำชุมชน ประชาชนทั่วไป และเจ้าหน้าที่ คิดเป็นร้อยละ 100 ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และสามารถสาธิตย้อนกลับเกี่ยวกับการใส่ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไป มีความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของแกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไป มีความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
40.00 0.00

 

2 2. เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของการติดเชื้อเอดส์ วิธีป้องกัน และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่และแนะนำแก่คนในชุมชนให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่อไป
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความตระหนักถึงอันตรายของการติดเชื้อเอดส์ วิธีป้องกัน และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่และแนะนำแก่คนในชุมชนให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่อไป
30.00 0.00

 

3 3. เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไปมีทัศนะคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 3. แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไปมีทัศนะคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชน
30.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไป มีความรู้ มีความเข้าใจ มีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) 2. เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของการติดเชื้อเอดส์ วิธีป้องกัน และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่และแนะนำแก่คนในชุมชนให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่อไป (3) 3. เพื่อให้แกนนำสุขภาพและประชาชนทั่วไปมีทัศนะคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และการติดต่อของโรคเอดส์,พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์,โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และช่องทางการติดเชื้อเอดส์และวิธีการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอดส์ (2) กิจกรรมถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนรุ่นใหม่ รักปลอดภัย ห่างไกลโรคเอดส์ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด