กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

รพ.สต.จะโหนงได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสปสช.ต.จะโหนงมาเพื่อลดปัญหาการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โดยได้รับงบประมาณในการจัดหาครุภัณฑ์เครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย สนับสนุนให้กับทีมควบคุมโรคในระดับตำบลทำให้เพิ่มความครอบคลุมการจัดบริการป้องกันโรคเชิงรุกในหมู่บ้านชุมชน ควบคู่กับการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย โดยทีมงานควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็ว SRRT ประจำหมู่บ้าน และภาคีเครือข่ายผู้นำชุมชนที่ร่วมมือกับอสม.ในการชี้เป้าหมาย และค้นหาผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง  ควบคู่กับการนำเสนอมาตรการชุมชนที่มีอยู่แล้วให้มีความต่อเนื่อง และนำไปใช้ในการเฝ้าระวังสุขภาวะต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยต่อแสนประชากรด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดเลือดออกไม่เกิน425ต่อแสนประชากร
849.69 425.00 381.69

 

2 เพื่อลดร้อยละลูกน้ำยุงลายในภาชนะ
ตัวชี้วัด : CI ไม่เกิน 10 มีการจัดการสำรวจ ทำลายภาชนะเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
41.00 10.00 8.70

 

3 เพื่อลดร้อยละลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน
ตัวชี้วัด : HI ไม่เกิน 10 มีการจัดการสำรวจ ทำลายภาชนะเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
34.00 10.00 9.20

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 954 954
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
จำนวนหลังคาเรือน(หลัง) 920 954
ทีมควบคุมโรค SRRT ระดับหมู่บ้าน/ตำบล(คน) 34 65

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยต่อแสนประชากรด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดร้อยละลูกน้ำยุงลายในภาชนะ (3) เพื่อลดร้อยละลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลจะโหนง (2) คืนข้อมูลให้ชุมชนและกำหนดมาตรการชุมชน (3) ประชุมเชิงปฎิบัติการเฝ้าระวังควบคุมโรค (4) รณรงค์สำรวจปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh