กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

คณะกรรมการหมู่บ้านบ้านคูหาใน หมู่ที่ 3 ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการหมู่บ้านต้นแบบ ปลอดโรค ปลอดขยะ ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคูหาใต้ เป็นเงิน จำนวน 50,746.-บาท โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ พร้อมสำรวจข้อมูลความพร้อมในการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน 2. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยและจัดทำถังขยะอินทรีย์ในครัวเรือน พร้อมมอบถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียกลดโลกร้อนแก่ครัวเรือนต้นแบบ 3. ดำเนินการให้ครัวเรือนต้นแบบจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียก พร้อมทั้งขยายผลสู่ครัวเรือนใกล้เคียง 4. หากครัวเรือนใดไม่มีพื้นที่หรือพื้นที่ไม่เหมาะสมในการจัดทำถังขยะเปียก ให้แนะนำวิธีการจัดการที่เหมาะสม 5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะเปียกครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการอย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน
80.00 80.00

ประชาชนมีความรู้และสนใจเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน

2 เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอินทรีย์และลดปริมาณขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะเปียกในพื้นที่ลดลง ร้อยละ 50 ของปริมาณทั้งหมดก่อนดำเนินโครงการฯ
50.00 50.00

ปริมาณขยะเปียกในพื้นที่ลดลง ร้อยละ 50 ของปริมาณทั้งหมดก่อนดำเนินโครงการฯ

3 เพื่อส่งเสริมความรู้ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหาขยะที่เกิดจากต้นทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะต้นทาง ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
80.00 80.00

ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะต้นทาง ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ

4 เพื่อให้เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการจัดการขยะต้นทางและขยายผลสู่หมู่บ้านใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนที่มีพื้นที่สามารถดำเนินการจัดทำถังขยะเปียกได้อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ
80.00 80.00

ครัวเรือนในพื้นที่สามารถดำเนินการจัดทำถังขยะเปียกได้อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 324 324
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 324
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะเปียกครัวเรือน (2) เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอินทรีย์และลดปริมาณขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ (3) เพื่อส่งเสริมความรู้ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหาขยะที่เกิดจากต้นทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการจัดการขยะต้นทางและขยายผลสู่หมู่บ้านใกล้เคียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh