กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 2. ร้อยละ 80 ของแกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ กับบุตร-หลานในครอบครัว 2.3 เกิด “ฮูกมปากัต” ด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผ่านเวทีประชาคมผู้นำชุมชน ที่สามารถบังคับใช้จริง อย่างน้อย 1 ฉบับ
ตัวชี้วัด : 1. เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สามารถตระหนักถึงปัญหาของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการตั้งครรภ์ไม่พร้อม 2. เยาวชนมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 3. แกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ กับบุตร-หลานในครอบครัว 4. ผู้นำชุมชนตระหนักถึงบาทหน้าที่ และเกิดความร่วมมือในการขับเคลื่อนการดำเนินงานฯ นำไปสู่การสร้าง “ฮูกมปากัต” เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในพื้นที่ 5. สามารถสรุปบทเรียนการดำเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไข เพื่อนำไปสู่การดำเนินงานในระยะต่อไป

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 2. ร้อยละ 80 ของแกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ      กับบุตร-หลานในครอบครัว  2.3 เกิด “ฮูกมปากัต” ด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผ่านเวทีประชาคมผู้นำชุมชน ที่สามารถบังคับใช้จริง อย่างน้อย 1 ฉบับ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เวทีส่งเสริมภูมิคุ้มกันและสร้างความเข้าใจภายในครอบครัว (2) 2. เวทีประชาคมผู้นำชุมชนด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรคฺ์ในบ้าน) (3) 3. เวทีถอดบทเรียนโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh