กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
20.00 0.00

 

2 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพครอบครัวมีองค์ความรู้และศักยภาพในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน
300.00 629.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความเข้มแข็งการเฝ้าระวัง ตรวจสอบความปลอดภัยของร้านขายของชำ
ตัวชี้วัด : เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคมีความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยของร้านขายของชำทุกคน
35.00 80.00

 

4 เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้านชำผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพทุกร้าน
7.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 644
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 629
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ร้านขายของชำ 15

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (2) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค (3) เพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความเข้มแข็งการเฝ้าระวัง  ตรวจสอบความปลอดภัยของร้านขายของชำ (4) เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคผู้นำชุมชนเจ้าของร้านชำในการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ (ร้านชำ 15 คน, ผู้นำชุมชน 9 คน, อสม. 53 คน, แกนนำครอบครัว 3 คน) (2) เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคออกตรวจประเมินร้านขายของชำ (3) ติดตามและประเมินผล  ร้านขายของชำที่ยังไม่ผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพ (4) คืนข้อมูล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh