กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมค้นหากลุ่มเป้าหมาย 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

แจ้ง ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย ประชุม อสม. ประชาชน ในพื้นที่ ชี้แจ้งวัตถุประสงค์โครงการ สำรวจรายชื่อผู้สนใจเข้าร่วมประชุม

 

จัดประชุม ชี้แจงกลุ่มเป้าหมายทราบ 1  ครั้ง ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ  การประชุมหมู่บ้าน  หอกระจายข่าว

 

กิจกรรมเฝ้าระวังการสัมผัสสารเคมีตกค้าง 1 เม.ย. 2567 6 มิ.ย. 2567

 

ประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมายทราบ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรม ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง ตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดกลุ่มเป้าหมาาย
แปรผล แจ้งผลการตรวจแก่กลุ่มเป้าหมาย แนะนำการปรับเปียนพฤติกรรม ให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค้าง

 

ตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด แก่ประชาชน ทั้งสิ้นจำนวน 336 คน (งบสนับสนุนเพิ่มเติมจากเงินบำรุง รพ.สต.บ้านฝาละมี ) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้น ผลการตรวจหาสารเคมีในกลุ่มเป้าหมาย - ปลอดภัย 33 คน ร้อยละ 9.82 - เสี่ยง 182 คน ร้อยละ 54.16 - ไม่ปลอดภัย 131 คน ร้อยละ 38.98 ให้คำแนะนำการลดการใช้สารเคมี โดยใช้สมุนไพร รางจืด การล้างผัก ผลไม่

 

จัดให้มีแหล่งเข้าถึงปุ๋ยอินทรีย์ในชุมชน 1 เม.ย. 2567 21 ส.ค. 2567

 

แจ้งกลุ่มเป้าหมายทราย ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
จัดประชุม ให้ความรู้ สาธิตการผลิดปุ๋ยอินทรีย์ แจกจ่ายปุ๋ยอินทรีย์แก่กลุ่มเป่าหมาย

 

มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม จำนวน  60  คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และสามารถผลิดปุ๋ยอินทรีย์ได้ กลุ่มเป้าหมาย มีและใช้ปุ๋ยอินทรีย์  จำนวน 60 ครอบครัว การทำปุ๋ยหมัก สูตร ปรับปรุงดิน ปลูกผัก (สูตรนี้ได้ 1000 กิโล) **  วัสดุ  ** 1.มูลสัตว์(ขี้ไก่ ขี้วัว)  400.    กิโล 2.เศษพืช. /ขี้เลื่อย  400.  กิโล 3.รำข้าว.      50. กิโล 4.หยวก.        50.  กิโล 5.โคโลไมท์.    40. กิโล 6.แกลบดำ.    10. กิโล (ไม่ใช่ขี้เถ้าดำนะ) 7.จุลินทรีย์ท้องถิ่น (น้ำหมัก)          50. ลิตร หมายเหตุ  เราสามารถปรับสูตร ได้ตามจำนวนที่เราต้องการจะทำ

เกร็ด

  1. มูลสัตว์  (ขี้วัว ,ขี้ไก่ )เป็นอาหารของพืชจำนวน 400 กิโล (เวลาทำ ให้แบ่งครึ่งไว้ก่อน เพราะต้องทำสลับชั้น
  2. เศษพืช อาจจะเป็นขี้เลื่อย (ในวันนี้ใช้ขี้เลื่อย) กิ่งไม้ ใบไม้ ฟางข้าว ฟางข้าวโพด ทางปาล์ม ทางมะพร้าว ต้นถั่วลิสง ถ้าเป็นกิ่ง เป็นต้นก็ต้อง คุณสมบัติคือ ทำให้ดินมีช่องว่าง ช่วยให้รากพืชชอนไชไปหาอาหารได้ )จำนวน  400. กิโลรายการนี้เวลาทำก็แบ่งครึ่ง เหมือนกัน 3.รำข้าว มีวิตามิน โปรตีน ไขมัน เป็นอาหารให้จุลินทรีย์ ปรับความเป็นกรด เป็นด่าง 4.หยวกกล้วย กล้วยชนิดไหนก็ได้ หยวกจะมีน้ำในหยวกเยอะ มีโปแตสเซี่ยมสูง เป็นที่หลบซ่อนของจุลินทรีย์ ให้สับเป็นชิ้นๆก่อนเอามาทำขนาดชิ้นก็ประมาณเอาอาจจะ 2-4 นิ้วก็ได้ ไม่ต้องละเอียดมาก 5.โคโลไมท์

 

ส่งเสริมให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ปลูกผักกินเอง 1 เม.ย. 2567 21 ส.ค. 2567

 

แจ้งกลุ่มเป้าหมาย
ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง ให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ จัดหาพันธุ์ผัก
แจกจ่ายพันธุ์ผักกลุ่มเป้าหมาย

 

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ แจกจ่าย พันธุ์ผักกลุ่มเป้าหมาย  60  ครัวเรือน

 

จัดประชุมกลุ่มผู้สนใจทั่วไป ในการลูกผักปลอดสารเคมีโดยใช้วัสดุในพื้นท่ีเป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ผสมเอง 1 เม.ย. 2567 29 ส.ค. 2567

 

แจ้งกลุ่มเป้าหมายทราบ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง จัดหาวัสดุ อุปกรณ์การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เรียนรู้ สาธิตการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ แจกจ่าย ปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพ

 

กลุ่มเป่หมาย เรียนรู้และสามารถทำปุ๋ยชีวภาพ และน้ำหมักชีวภาพได้ จำนวน  30 ครัวเรือน ครัวเรื่อนมีและใช้ปุ็ยและน้ำหมักชีวภาพ จำนวน 30 ครัวเรือน ครัวเรือนปลูกและกินผักปลอดสารพิษ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน จากการซื้อปุ๋ยและน้ำหมัก