กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 6 คน 15 ม.ค. 2567 15 ม.ค. 2567

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ประจำ รพ.สต.จำนวน 6 คน และตัวแทน อสม.ทั้ง 4 หมู่บ้าน รวม จำนวน 11 คน ชี้แจงการดำเนินงานตามฯโยบายกระทรวงสาธารณสุขในการค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

 

เจ้าหน้าที่และตัวแทน อสม.เข้าร่วมประชุม จำนวน 11 คน และเข้าใจในกิจกรรมของโครงการ และการติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง การเสริมความรู้เพื่อไม่ให้กลุ่มปกติหรือกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง

 

คัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือ ส่งเสริมการมารับบริการ คัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

คัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือ ส่งเสริมการมารับบริการ คัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมายโดยทีมสุขภาพของ รพ.สต.บ้านดอนศาลา 1.ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือดพร้อมเข็มเจาะ จำนวน 15กล่อง ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท 2.ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะโรคกลุ่ม Metabotic จำนวน 1,500 แผ่น (หน้า-หลัง) x 1 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 3. สำลีก้อนชุปแอลกอฮอล์สำเร็จรูป แผงละ 10 ก้อน จำนวน 240 แผง แผง ละ 15 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท 4.สำลีแห้งฆ่าเชื้อ 250 ห่อ ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท

 

ผลผลิต : ประชาชนได้รับการคัดกรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ผลลัพธ์ : กลุ่มเป้าหมายรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเองและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

 

กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน โดยการ ตรวจตา ไต เท้า 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

คัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย/ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

กลุ่มเสี่ยงที่มีระดับความดันโลหิต กลุ่มสงสัยเป็นโรคได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านโดย อสม.ในเขตที่รับผิดชอบ โดยดำเนินการติดตามทุกเดือนจนกว่าสิ้นสุดการดำเนินการ ถ้าพบความผิดปกติต่อเนื่องส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยจากแพทย์ทุกราย โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - เครื่องวัดความดันโลหิต(ดิจิตัล) คัฟใหญ่ จำนวน 2 เครื่อง ๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท

 

ผลผลิต : ร้อยละ 60 ของกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ผลลัพธ์ : กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามวัดความดันที่บ้านแล้วส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย

 

กิจกรรมติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเดิม จำนวน 281 คน โดยทางทีมสุขภาพ รพ.สต.บ้านดอนศาลา จะติดตามประเมินผู้ป่วยทุกรายให้ได้รับการติดตามรักษาอย่างต่อเนื่อง โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - เครี่องตรวจวัดความเค็ม จำนวน 5 เครื่อง x 1,200 บาทเป็นเงิน 6,000 บาท เพื่อลงพื้นที่สุ่มตรวจความเค็มในอาหารที่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงบริโภคในครัวเรือน หากพบความผิดปกติในผู้ป่วยรายใด ทางทีมสุขภาพจะเข้มงวดและให้คำแนะนำทั้งผู้ป่วยและผู้ประกอบอาหารให้ผู้ป่วยที่บ้านทราบถึงโทษและสร้างความตระหนักให้เห็นความสำคัญถึงการประกอบอาหารที่ลดเค็ม

 

ผลผลิต : ร้อยละ100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม
ผลลัพธ์ : ผู้ป่วยได้การสุ่มตรวจอาหารที่บริโภคในครัวเรือนและได้รับคำแนะนำเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อลดการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนรายใหม่