กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (Hematocrit) หญิงวัยเจริญพันธ์ุและหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการในหมู่บ้าน 16 ม.ค. 2567 16 ม.ค. 2567

 

1.ประชุมคณะทำงานแม่และเด็กคืนข้อมูล สรุปปัญหา 2.ของบกองทุนเทศบาลตำบลนาทับ 3.ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธ์ุที่เข้าร่วมโครงการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นรพ.จะนะ 4.ทำกิจกรรมตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 13-45 ปี
5.คืนข้อมูลผลการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์และแจกจ่ายยา folic และ Ferrous fumarate 200 mg) แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์  รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ในรายที่ผลการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ปกติพร้อมทั้งแนะนำเรื่องภาวะโภชนาการ  และแจกจ่ายยา folic และ Ferrous fumarate (200 mg) แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์  รับประทานวันละ 1 เม็ด และในรายที่ผลการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าปกติ(36%) แจกจ่ายยาให้รับประทานยา folic และ Ferrous fumarate (200 mg) วันละ 1 เม็ด พร้อมทั้งสอบถาม ค้นหาปัญหารายบุคคลถึงเหตุผลของการเกิดภาวะซ๊ีดและแนะนำเรื่องภาวะโภชนาการ และนัดมาติดตามการรับประทานยาและการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงซ้ำ 2 สัปดาห์ โดยหมู่ที่ 1ทำในวันที่ 14 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น.,หมู่ที่ 2 ทำในวันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น.,หมู่ที่ 12 ทำในวันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น,หมู่ที่ 6 ทำในวันที่ 19 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น,หมู่ที่ 8 ทำในวันที่ 21 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 นหมู่ที่ 10 ทำในวันที่ 26 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น ,หมู่ที่ 13 ทำในวันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น,หมู่ที่ 14 ทำในวันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น 6.ติดตามตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงซ้ำหลังจากรับประทานยาไป 2 สัปดาห์ในรายที่ความเข้มข้นของเม็ดเลือดต่ำกว่าปกติและให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวต่อ

 

หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ  รายไม่มีภาวะซีดและมีหญิงวัยเจริญพันธ์ุ 1 รายที่เข้าร่วมโครงการ มีภาวะซีดก่อนเข้าร่วมโครงการและได้รับการแก้ไขภาวะซีด ตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ผลความเข้มข้นของเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
และได้งานวิจัย 1 เรื่อง "ศึกษาความชุกภาวะซีดในสาวไทยแก้มแดง พื้นที่บริการรพ.สต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา และค้นหาปัญหารายบุคคลที่ทำให้เกิดภาวะซีด"

 

รับสมัครหญฺิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ 1 ก.พ. 2567 1 ก.พ. 2567

 

1.ประชุมคณะทำงาน แม่และเด็ก 2.รับสมัครหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เข้าร่วมโครงการสาวไทยแก้มแดง

 

ได้กลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ

 

กิจกรรมกระบวนกรสอนเรื่องเพศในนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับ 14 ก.พ. 2567 14 ก.พ. 2567

 

1.ประชุมคืนข้อมูล ปัญหาคณะทำงานแม่และเด็ก คุณครูในโรงเรียนและวางแผนแก้ไขปัญหา 2.เขียนโครงการของบประมาณกองทุนเทศบาลตำบลนาทับ 3.แจ้งกำหนดการอบรมเรื่องเพศศึกษา  การเข้าใจในร่างกายของตนเอง  การป้องกันตนเองในเรื่องเพศศึกษาและการเอาตัวรอดในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่อการมีเพศสัมพันธ์ 4.สรุปผลโครงการ

 

นักเรียนชั้นม.1-3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับมีความรู้เรื่องเพศศึกษา  เข้าใจในร่างกายของตนเอง  และสามารถการป้องกันตนเองในเรื่องเพศศึกษาและการเอาตัวรอดในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่อการมีเพศสัมพันธ์ ***ขณะเขียนโครงการของบประมาณนักเรียนชั้นม.1-3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับมี 85 รายหลังโครงการผ่านเป็นปีการศึกษาใหม่จำนวนนักเรียนลดลงเสร็จสิ้นโครงการรวมทั้งสิ้น 81 คน ซึ่งของบประมาณไว้ 95 รายยอดเงินเหลือ 14 ราย =(95x30=2850 บาท)-(81x30 =2430 บาท)=420 บาท(14 ราย)คืนกองทุนเทศบาลตำบลนาทับ

 

กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ติดตามภาวะซีด 1 พ.ค. 2567 1 พ.ค. 2567

 

1.แจ้งกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซีดนัดมาติดตามความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงซ้ำหลังรับประทานยา folic และFerrous fumarate 2 สัปดาห์
2.มีสาวไทยแก้มแดง 1 ราย ยังมีภาวะซีดจึงค้นหาปัญหาเชิงลึกสอบถามเป้าหมายบอกว่ามีอาชีพเกษตรกร เลี้ยงไก่ ต้องสัมผัสดิน ซึ่งรับประทานอาหารและยาบำรุงตามเกณฑ์  แต่ไม่มีประวัิติรับประทานยาถ่ายพยาธิร่วมกับมีพฤติกรรมรับประทานอาหารสุกๆดิบๆบางครั้งจึงให้ยาถ่ายพยาธิไปรับประทาน 3 วันและรับประทานยาบำรุงทุกวันเหมือนเดิม 2 สัปดาห์นัดมาเจาะความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงไม่มีภาวะซีด

 

สาวไทยแก้มแดงที่เข้าร่วมโครงการไม่มีภาวะซีด