กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1  เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว (3) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น    - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง  - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้    - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้                            - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - เมลีออยด์  Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ (4) เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค) (5) เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ (6) สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมการประชาสัมพันธ์(ค่าไวนิล) (3) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารลิง) (4) กิจกรรมทำหมันลิง(เวชภัณฑ์และวัสดุยา) (5) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) (6) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าตอบแทน) (7) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก) (8) กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าตรวจโรค) (9) กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าส่งตรวจ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ