กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน     ด้วยกลุ่มประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง มีความประสงค์จะจัดทำโครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลบาเจาะ ประจำปี 2559 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมารจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะ เป็นเงิน 80,000 บาท (เงินแปดหมื่นบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดโครงการดังนี้ ส่วนที่ 1 :  รายละเอียดโครงการ หลักการและเหตุผล     ด้วยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะมีประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลาม 100% มีประชากรทั้งหมด  8,546  คน  การเข้าสุนัตเป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของมุสลิม  ถือกันว่าคนมุสลิมที่แท้จริงต้องเข้าสุนัตและเป็นสิ่งจำเป็นที่เด็กผู้ชายชาวมุสลิมจะต้องผ่านให้ได้  พิธีการเข้าสุนัต หมายถึง การขลิบปลายอวัยวะเพศของเด็กไทยมุสลิมทั้งชายและหญิงเมื่อย่างเข้าวัยอันควรคืออายุระหว่าง 8 - 12ปี  ผลแห่งการเข้าสุนัตเกี่ยวกับการทำความสะอาดที่ต้องตัดตบแต่ง  เพื่อขจัดความสกปรกปลายอวัยวะเพศ  การมีน้ำปัสสาวะและมีน้ำอสุจิค้างภายในปลายลึงค์ที่ไม่ผ่านการขลิบจะทำให้เสื้อผ้าในร่างกายเกิดความสกปรกยิ่งไปกว่านั้นเป็นการลดบทบาทเรื่องความสะอาดในฐานะ “มุสลิม” และถ้าหนังปลายลึงค์ไม่ถูกตัดมันจะเป็นแหล่งรวมหยดปัสสาวะและสิ่งตกค้างจากการร่วมเพศ  เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นระบบประสาทหรือระบบสืบพันธุ์  คณะกรรมการ สปสช. เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น
  2. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ การประชาสัมพันธ์กิจกรรม/โครงการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 21 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 7 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  3. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 28 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 32 คนมีระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 21 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 19 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  4. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ สิ่งอำนวยความสะดวกมีความเหมาะสม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 21 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 37 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 31 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 11 คน  มีระดับความพึงพอใจ น้อย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  5. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 31 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 31 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 18 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  6. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ สถานที่จัดมีความเหมาะสม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 29 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 34 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  7. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ การเรียนรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 24 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 40 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม - คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  8. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ การได้ฝึกทักษะหรือฝึกปฏิบัติวิธีการดูแลสุขภาพ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 42 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 19 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 9 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  9. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ ความน่าสนใจของกิจกรรมและสื่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 27 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 24 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 37 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 12 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

  10. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ ความรู้และทักษะที่ได้รับสอดคล้องกับความต้องการของท่าน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 21 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 38 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 41 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม - คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

  11. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ การมีส่วนร่วมพูดคุย แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสุขภาพกับคนอื่นๆ ในกลุ่ม หรือเจ้าหน้าที่ที่จัดกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 38 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 12 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 14 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  12. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ แรงจูงใจในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ภายหลังจากท่านเข้าร่วมกิจกรรมสุขศึกษา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 34 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 28 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 19 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 19 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  13. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ ความรู้ ความสามารถของเจ้าหน้าที่ที่จัดกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 34 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 26 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 29 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 11 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
  14. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ความพึงพอใจ ประโยชน์ที่ท่านได้รับ คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไปในการร่วมกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 43 คน มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 18 คน มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3 คน มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

ข้อเสนอแนะอื่นๆ 1. อยากให้มีโครงการนี้อีกในปีงบประมาณต่อๆ ไป         2. ควรจะมีโครงการที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเขตตำบลบาเจาะ ทุกคนจะได้มีส่วนร่วม         3. ควรสนับสนุนงบประมาณโครงการไปอย่างต่อเนื่องทุกๆ ปี
ปัญหา/ อุปสรรค 1. การดำเนินโครงการอาจจะไมครอบคลุมทุกพื้นที่ในตำบลบาเจาะ 2. งบประมาณมีจำนวนจำกัด 3. การเตรียมสถานที่อาจไม่สะดวก

&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <br />



ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในตำบลบาเจาะสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในตำบลบาเจาะที่เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของเด็กและเยาวชนที่ได้ปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม

 

3 3. เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพสชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลบาเจาะลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือด
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของเด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลบาเจาะที่ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในตำบลบาเจาะสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม (3) 3. เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพสชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลบาเจาะลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh