กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
29.00 20.00

 

2 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มลดลง
31.02 25.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
62.17 80.00

 

4 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
41.03 50.00

 

5 เพื่อลดร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก ลดลง
29.91 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (2) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ (4) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (5) เพื่อลดร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพเบื้องต้นของผู้สูงอายุและลงทะเบียนประวัติ (2) การพัฒนาทักษะและความพร้อมการก้าวสู่ “ผู้สูงอายุคุณภาพ”เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 9 เดือน(การป้องกันอุบัติเหตุในผู้สูงอายุ การหกล้ม การบริโภคอาหาร การผ่อนคลาย การจัดการการความเครียด ความวิตกกังวล การออกกำลังกาย การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นต้น) (3) การนำศักยภาพผู้สูงอายุ เช่น การเล่านิทาน การปั้น การทำเครื่องเล่นพื้นบ้าน มาร่วมแก้ปัญหาสุขภาพกลุ่มเด็กและเยาวชน (4) ส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ เพื่อการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ 150 นาทีต่อสัปดาห์ การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เช่น การใช้ภูมิปัญญาชุมชน ประเพณี การละเล่นพ้นบ้าน เป็นต้น แก่กลุ่มและชมรมผู้สูงอายุ (5) ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงโครงการ วางแผนการดำเนินงานและมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ (6) ประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh