กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อทบทวนบทบาท และภารกิจของ อสม.ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ดูแลสุขภาพแม่และเด็ก หลังคลอด และสามารถเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม 2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจ ระดับดี

 

2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านอนามัยแม่และเด็กให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 อสม.มีความรู้หลังฝึกอบรม

 

3 เพื่อหญิงตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด ได้รับการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ50หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ 2.ร้อยละ75หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ≤12สัปดาห์ 3.ร้อยละ75หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ3ครั้งตามเกณฑ์

 

4 เพื่อเด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ90ของเด็กอายุ 9,18,30,42,60เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ 2.ร้อยละ85ของเด็กอายุ 9,18,30,42,60เดือนมีพัฒนาการสมวัย 3.ร้อยละ90ของเด็กอายุ 9,18,30,42,60เดือนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม 4.ร้อยละ7 ของทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500กรัม 5.ร้อยละ 55 ของเด็กแรกเกิด-6เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 6.ร้อยละ 90 ความครอบคลุมของเด็กอายุ 0-5ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก และวัดความยาว / ส่วนสูง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทบทวนบทบาท และภารกิจของ อสม.ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ดูแลสุขภาพแม่และเด็ก  หลังคลอด และสามารถเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามกลุ่มวัย (2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านอนามัยแม่และเด็กให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อหญิงตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด ได้รับการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อเด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอนามัยแม่และเด็ก แก่ อสม.รพ.สต.บ้านนาหยา จำนวน 65 คน  โดยอบรม ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ณ.ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาหยา 1.1 ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม 1.2 ให้ความรู้ อสม. ในด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก  1.3 ใ (2) 2.กิจกรรมเฝ้าระวัง ติดตาม หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์เร็วก่อน 12 สัปดาห์ 3. กิจกรรมเฝ้าระวัง ติดตาม หญิงหลังคลอด 4.กิจกรรมเฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ทุก  3เดือน 5.กิจกรรมเฝ้าระวัง ติดตาม พัฒนาการเด็ก 0-5ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh