กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะ ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะ

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 28 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L7161-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 28 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันคนไทยตื่นตัวเรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมากขึ้น เพราะการมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตใจที่ดีจะนำมาซึ่งความสุขในชีวิตที่ทุกคนปรารถนา การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงย่อมส่งผลให้จิตใจสดชื่น เบิกบาน ในทางตรงข้าม หากร่างกายที่ไม่แข็งแรงก็ย่อมส่งผลให้จิตใจห่อเหี่ยว มีแต่ความกังวล การออกกำลังกายมีส่วนช่วยให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น เพราะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต หัวใจ กล้ามเนื้อ ปอดทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงช่วยในการป้องกันโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคระบบไหลเวียนโลหิต เบาหวาน และโรคอ้วน เป็นต้น อีกทั้งยังทำให้ระบบเผาผลาญทำงานได้ดีขึ้น ช่วยสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และยังช่วยผ่อนคลายความเครียดจากการหลั่งสารเอนดอร์ฟิน (Endorphins) หรือสารแห่งความสุข จากข้อมูลการเจ็บป่วยของประชาชนในอำเภอเบตง โรงพยาบาลเบตง แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรมกระดูก มีนัดติดตามอาการ จำนวน 4,558 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 4,647 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2565 และจำนวน 4,723 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2566 (ข้อมูลวันที่ 30 ต.ค.2566) เห็นได้ว่ามีแนวโน้มการเจ็บป่วยระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ ข้อพับ เพิ่มขึ้นทุกปี อันเนื่องมาจากการเหนื่อยล้าจากการทำงาน หรือเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุแล้วไม่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง หรือเกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยเป็นโรคต่างๆค่อนข้างมาก และกลุ่มผู้ป่วยขาดทางเลือกในการออกกำลังกายอย่างถูกวิธีส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยเรื้อรัง ซึ่งจากการศึกษาพบว่า การออกกำลังกายด้วยโยคะเป็นทางเลือกหนึ่งในการเคลื่อนไหวร่างกาย เหมาะกับคนทุกช่วงวัย เพราะโยคะเป็นการบริหารกายที่ไม่ก่อให้เกิดแรงกระแทก และทำให้จิตเป็นสมาธิช่วยให้เกิดการผ่อนคลาย รู้ตัวเสมอ มีสติอันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ส่วนร่างกายช่วยให้ผ่อนคลาย สร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ ข้อพับ ทำงานได้ดีขึ้น ประกอบกับเทศบาลเมืองเบตงได้เปิดศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตง ศาสตร์โยคะจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาอาการบาดเจ็บและฟื้นฟูสภาพกล้ามเนื้อ ข้อต่อ ข้อพับให้มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะขึ้น เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเจ็บป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเรื้อรังของโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ หรือโรคที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูได้โดยการออกกำลังกายด้วยศาสตร์แห่งโยคะ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกายด้วยโยคะ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทางเลือกในการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น และเพื่อส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยโยคะอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีภาวะการเจ็บป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเรื้อรังของโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ หรือโรคที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูได้โดยการออกกำลังกายด้วยโยคะ
  2. 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกายด้วยโยคะ
  3. 3 เพื่อส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยโยคะอย่างสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1.อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยโยคะ
  2. กิจกรรมที่ 2.ออกกำลังกายด้วยโยคะ
  3. อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยโยคะ
  4. ออกกำลังกายด้วยโยคะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 56
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้รับบริการที่มีภาวะการณ์เจ็บป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเรื้อรังของโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ หรือโรคที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูได้โดยการออกกำลังกายด้วยโยคะ
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกายด้วยโยคะ
  3. กลุ่มผู้รับบริการมีการออกกำลังกายด้วยโยคะอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีภาวะการเจ็บป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเรื้อรังของโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ หรือโรคที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูได้โดยการออกกำลังกายด้วยโยคะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้รับบริการที่มีภาวะการเจ็บป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเรื้อรังของโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ หรือโรคที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูได้โดยการออกกำลังกายด้วยโยคะ

 

2 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกายด้วยโยคะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกายด้วยโยคะ

 

3 3 เพื่อส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยโยคะอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยโยคะอย่างสม่ำเสมอ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 56
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีภาวะการเจ็บป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเรื้อรังของโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อ หรือโรคที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูได้โดยการออกกำลังกายด้วยโยคะ (2) 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกายด้วยโยคะ (3) 3 เพื่อส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยโยคะอย่างสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1.อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยโยคะ (2) กิจกรรมที่ 2.ออกกำลังกายด้วยโยคะ (3) อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยโยคะ (4) ออกกำลังกายด้วยโยคะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกกำลังกายยืดชีวีวิถีโยคะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด