กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายทวีป จิรรัตนโสภา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-03-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L7161-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 215,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผูสูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในป 2563 มีประชากรที่มีอายุตั้งแต 60 ป 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กลาวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปขึ้นไปเกินรอยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปขึ้นไป เกินรอยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือได้วาประเทศนั้นไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) และจะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเขาสูสังคม ผูสูงอายุตั้งแตป 2547 และจะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณในป 2567
เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรเขาสูสังคมผูสูงอายุ มีผลกระทบตออัตราสวนภาวะพึ่งพิง หรือภาวะโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะตองเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสูปญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปญหาในดานสุขภาพของผูสูงอายุดวย เนื่องจากผูสูงอายุมีภาวะดานสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงมีความเสื่อมของรางกายอวัยวะตางๆ ทั่วไปเริ่มออนแอและเกิดโรคงาย ภูมิตานทานโรคนอยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจและสังคมดวยสถานการณ์ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2566 พบว่า ผู้สูงอายุในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพที่แตกต่างกันในแต่ละคน มีทั้งผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน และติดสังคม จากการสำรวจพบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงรวมทั้งสิ้นประมาณ 4,959 คน คิดเป็นร้อยละ 19 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งถือเป็นจำนวนที่ค่อนข้างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนในพื้นที่ต้องร่วมมือร่วมใจ ผสานทุนทางสังคม มีนโยบายและกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้ครอบคลุมมากที่สุด มีกิจกรรมทางสังคมที่หลากหลาย เพียงพอ เหมาะสมกับความสนใจและวัฒนธรรม สามารถชวยเหลือตนเองไดทั้งทางดานสุขภาพทางกาย และจิตใจ ผูสูงอายุกลุมดังกลาวควรไดรับการสงเสริมใหเกิดความแข็งแรงทั้งกายและใจ การปฏิบัติตนที่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 5 อ. ได้แก่ 1 อ.อาหาร รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
2 อ.ออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม มีหลากหลายวิธี เช่น ยืดเส้นยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เป็นต้น และหลีกเลี่ยง การแข่งขัน ออกแรงเกินกำลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ำหนัก การอยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว อากาศไม่ถ่ายเท อยู่กลางแดดจ้า 3 อ.อารมณ์ คือ อารมณ์รื่นเริงยินดี ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม จิตแจ่มใส มองโลกในแง่บวก ไม่เครียด ช่วยเหลือให้คำแนะนำแก่ลูกหลาน คนรอบข้าง
4 อ.อดิเรก สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูนคุณค่า เกื้อกูลสังคม หากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบทำแล้วเพลิดเพลิน และมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น อ่านหนังสือธรรมะ ฟังเทศน์ฟังธรรม พบปะสังสรรค์ ให้คำปรึกษาแนะนำฟังเพลง ปลูกต้นไม้ และ
5 อ.อนามัย สร้างอนามัยดี ชีวีมีสุข นำพาอายุยืนยาว สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี หมั่นตรวจและรักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน งด ละ เลิกอบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา และสารเสพติด นอกจากนี้ การที่ผู้สูงอายุจะมีสุขภาพแข็งแรง มีอายุยืนยาวอย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้นั้น ไม่เพียงแต่การเตรียมความพร้อมหรือการปฏิบัติตัวผู้สูงอายุเองเท่านั้น ลูกหลาน ครอบครัวก็ควรใส่ใจดูแลผู้สูงอายุด้วย รวมทั้งสังคมก็ควรเกื้อหนุนอำนวยความสะดวกในสิ่งต่างๆ ตลอดจนจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุด้วยเช่นกันศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข จึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์และจิตใจ จึงมีความสำคัญอยางยิ่งในการสงเสริมและปองกันปญหาสุขภาพของผูสูงอายุแบบองครวม (Holistic)ใหมีสมรรถภาพรางกายแข็งแรง มีจิตใจเขมแข็ง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อใหผูสูงอายุสามารถดำเนินชีวิตอยางมีความสุขและตระหนักถึงคุณคาในตนเอง พรอมเปนพลังใหแกชุมชนตอไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(ปัญญา) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนวัยเดียวกัน มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
  3. 3. เพื่อสร้างนวัตกรรมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (ปัญญา) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง
  2. ผู้สูงอายุมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนวัยเดียวกัน มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
  3. โรงเรียนผู้สูงอายุมีนวัตกรรมด้านสุขภาพ และผู้สูงอายุสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(ปัญญา) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนวัยเดียวกัน มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อสร้างนวัตกรรมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(ปัญญา) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนวัยเดียวกัน มีสุขภาพจิตที่ดี          มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม (3) 3. เพื่อสร้างนวัตกรรมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทวีป จิรรัตนโสภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด