กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็กและพัฒนาการเด็กที่สมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในตำบลตาแกะมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก และพัฒนาการเด็กที่สมวัย
60.00

 

2 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ในเด็ก 0-5 ปี ในตำบลตามีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน
50.00

 

3 3.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะซีดในเด็ก6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะซีด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ในเด็ก 6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ไม่มีภาวะซีด (ค่า Hb > 11 mg/db)
90.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการเด็กใน 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน,18เดือน,30เดือน,42เดือน,60เดือน)ในตำบลตาแกะ ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ในเด็ก 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน ,18 เดือน , 30 เดือน , 42 เดือน , 60 เดือน) ในตำบลตาแกะ มีพัฒนาการที่สมวัย
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็กและพัฒนาการเด็กที่สมวัย (2) 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (3) 3.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะซีดในเด็ก6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะซีด (4) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการเด็กใน 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน,18เดือน,30เดือน,42เดือน,60เดือน)ในตำบลตาแกะ ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมหารือสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่ายชุมชน เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ ภาวะซีด และพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี (2) อบรมเชิงปฏิบัติการพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก การส่งเสริมและการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย จำนวน 100 คน (3) ประชุมเครือข่ายชุมชนในตำบล่ตาแกะ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ลการดำเนินงาน จำนวน 30 คน (4) ประชาสัมพันธ์โครงการ (5) สรุปและติดตามผลการดำเนินงาน (6) อสม.ชั่งน้ำหนักเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน/ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (3 ครั้ง) (7) ประชุมหารือสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่ายชุมชน ก่อนดำเนินโครงการ (8) ประชาสัมพันธ์โครงการ (9) อบรมเชิงปฏิบัติการพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก การส่งเสริมและการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย จำนวน 100 คน (10) อสม.ชั่งน้ำหนักเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน/ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (3 ครั้ง) (11) ประชุมเครือข่ายชุมชน เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh