กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : มีการประชุมทีม SRRT อย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อปี

 

2 เพื่อเตรียมความพร้อมวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้งานทันเวลาและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 52 ต่อแสนประชากร

 

3 ประเมินความเสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : มีหมู่บ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

 

4 ลดค่า HI ในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

 

5 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงวัณโรคได้รับการคัดกรองเบื้องต้น

 

6 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัณโรคและโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงวัณโรคที่มีความผิดปกติได้รับการส่งต่อ X-Ray ปอด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 860
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 670
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค (2) เพื่อเตรียมความพร้อมวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้งานทันเวลาและเพียงพอ (3) ประเมินความเสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก (4) ลดค่า HI ในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (5) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ (6) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัณโรคและโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดการประชุมทีม SRRT ตำบลหนองปรือและนำเสนอสถานการณ์โรคอย่างน้อย 6 เดือน / ครั้ง 2.สำรวจความต้องการและเตรียมความพร้อมด้าน คน วัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันควบคุมโรคต่อ 3. สุ่มสำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน (HI) สำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh