กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-sampling ทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองในพื้นที่ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้ามายที่มีอายุ 30-60 ปีมารับการตรวจคัดกรอง ทั้ง 2 หมู่บ้าน 1 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567

 

  1. สำรวจสตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบพร้อมจัดทำทะเบียน
  2. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-sampling ทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองในพื้นที่ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้ามายที่มีอายุ 30-60 ปีมารับการตรวจคัดกรอง

 

1.สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันเป็นการสร้างกระแสและให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

จัดประชุมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี พร้อมสอนวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองแบบ HPV self-sampling และการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 1 มี.ค. 2567 1 มี.ค. 2567

 

  1. สำรวจสตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบพร้อมจัดทำทะเบียน
  2. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-sampling ทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองในพื้นที่ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้ามายที่มีอายุ 30-60 ปีมารับการตรวจคัดกรอง
  3. จัดประชุมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี พร้อมสอนวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง และการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี นำส่งสิ่งส่งตรวจมายังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา
  5. กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการติดตามและตรวจซ้ำจากเจ้าหน้าทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  6. กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจซ้ำกับเจ้าหน้าที่และมีผลผิดปกติ ได้รับการติดตามและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
  7. .สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

 

  1. สามารถค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก และผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
  2. กลุ่มเป้าหมายมีคววามรู้ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลและมะเร็งเต้านม
  3. ผู้ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโดยแพทย์ และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องทันท่วงที
  4. สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันเป็นการสร้างกระแสและให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

กิจกรรมการติดตามและส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง 1 พ.ค. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมการติดตามและตรวจซ้ำจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข(กรณีกลุ่มเป้าหมายผิดปกติ) 1 มิ.ย. 2567