กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ตามข้อ (4) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ซึ่งงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้สุขศึกษาในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อจากสถานการณ์ในปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างมาก ประชาชนต้องดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดในสังคม จนบางครั้งลืมนึกถึงภาวะสุขภาพ ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อ และจากโรคติดต่อที่มีความไม่รุนแรงหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนเป็นโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้น หรือเรียกว่าโรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคติดต่ออุบัติซ้ำ นั้นเอง โรคติดต่ออุบัติใหม่หมายถึงโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในมนุษย์ เป็นโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในมนุษย์เป็นโรคติดเชื้อชนิดใหม่ เช่น โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ โรคติดเชื้อ มือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคเอดส์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรคฉี่หนู เป็นต้น งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด เทศบาลตำบลตำนาน ได้ตระหนักถึงปัญหาโรคติดต่อที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเทศบาลตำบลตำนาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพและไม่เกิดการระบาดซ้ำ
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ในครัวเรือนและชุมชน 2.ไม่เกิดการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลและไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาล
3.00

 

 

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
3.00 1.00